กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2666
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิโรจน์ เรืองประเทืองสุข | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:18:44Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:18:44Z | |
dc.date.issued | 2545 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2666 | |
dc.description.abstract | ความเข้มข้นไมเซลล์วิกฤตของสารลดแรงตึงผิวและการแปรเปลี่ยนค่าความจุความร้อนสำหรับการเกิดไมเซลล์ เมื่อมีการแปรเปลี่ยนอุณหภูมินับเป็นสิ่งสำคัญในการหาค่าการเปลี่ยนแปลงเอ็นทัลปีและพลังงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับค่าต่ำสุดของความเข้มข้นไมเซลล์วิกฤติของสารลดแรงตึงผิวประจุลบ, cmc*, ซึ่งเกิดขึ้น ณ อุณหภูมิ T* จะพบว่าค่า cmc ณ อุณหภูมิอื่น ๆ จะขึ้นกับค่าของ cmc*, T/T* และ C p/(1+) โดยค่า Cp เป็นการแปรเปลี่ยนค่าความจุความร้อน สำหรับการเกิดไมเซลล์ และ เป็นสัดส่วนดีกรีการเกาะตัวของประจุตรงกันข้าม ความสัมพันธ์ที่ง่าย ๆ จากการกำหนดให้ C p/(1+) มีค่าคงคงตัว สามารถทดสอบกับข้อมูลที่ได้จากการทดลอง 20 ชุด พบว่า มีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่า 1% ถึง 19 ชุด และมีเพียงชุดเดียวที่มีความคลาดเคลื่อน 1.6% ซึ่งเป็นการเสนอแนะว่ากลุ่มตัวแปร C p/(1+) RT 1n cmc มีค่าเท่ากันกับค่าที่ เกิดจากอันตรกิริยาระหว่างสายโซ่โฮโดรคาร์บอน-น้ำกับพลังงานกิบบส์ของการเกิดไมเซลล์ แต่ยังคงมีสิ่งที่คาดไม่ถึงและข้อสงสัยอีกมากมาย | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ไมเซลล์ | th_TH |
dc.subject | สารลดแรงตึงผิว | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | ความไม่อิสระจากอุณหภูมิของความเข้มข้นไมเซลล์วิกฤติและความจุความร้อนของการเกิดไมเซลล์สำหรับสารลดแรงตึงผิวชนิดมีประจุ | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 2 | |
dc.year | 2545 | |
dc.description.abstractalternative | The temperature dependency of the critical micelle concentration and the heat capacity changes that accompanies micelle formation is crucial in determining the enthalpy changes and associated Energy. For any minimal value of critical micelle concentration of an ionic surfactant, cmc*, occurring at a temperature T*, the cmc at other temperatures depends on cmc*, T/T*, and C p/(1+), C p is the change in heat capacity for micellization, and is the fractional degree of counterion binding. A simple equation, based on keeping C p/(1+), as an invariance parameter, can be used to fit 20 sets of experimental data with root mean square deviations less than 1% for 19 of them and 1.6% for the other. Hence, It can be suggested that the value of C p/(1+) RT 1n cmc is equal to the contribution of hydrocarbon chain-water interactions to the Gibbs energy of micellization, but there are several unexpected and puzzling exceptions. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Academic journal, Faculty Senate Council of Burapha University | |
dc.page | 1-24. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น