กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2640
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุทิน กิ่งทอง
dc.contributor.authorรัตนา สมัญญา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:11Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:11Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2640
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างและเนื้อเยื่อพื้นฐานที่พบในเหงือกของหอยตะโกรมกรามดํา Crassostrea iredalie โดยเก็บตัวอย่างหอยตัวเต็มวัยจากบริเวณชายฝั่งของจังหวัดชลบุรีทําการศึกษากายวิภาคและเนื้อเยื่อของเหงือกโดยใช้เทคนิคมิญชยวิทยา พบว่าเหงอกของหอยตะโกรมกรามด ื ํามีสี่แผ่นเป็นแบบซโดลาเมลล ิแบรงค์ (Pseudolamellibranch) คือมีจุดกําเนิดจากแกนเหงือกบริเวณด้านท้องลําตัวสองจุด แต่ละจุดจะมีแผ่นเหงือกสองแผ่น โดยแผ่นเหงือกด้านในจะม้วนตัว ขึ้นมาติดกับแกนลําตัวมีตําแหน่งติดกับเส้นเลือด Common afferent vein ส่วนแผ่นเหงือกด้านนอก (Outer lamella) จะม้วนขึ้นมาติดอยู่กับแมนเทิลมีตําแหน่งติดกับเส้นเลือด Branchial efferent vein โครงสร้างเนื้อเยื่อของเหงือกหอยตะโกรมกรามดําประกอบด้วยท่อลําเลียงน้ําและท่อลําเลียงเลือด จํานวนของซี่เหงือกย่อย (Gill filament) ที่พบในพลิกาพบได้ 12-14 หน่วยจากโครงสร้างของเหงือกและลักษณะของซิเลียที่พบในซี่เหงือกย่อยชี้ให้เห็นว่านอกจากเหงือกของหอยตะโกรมจะทําหน้าที่หลักในการ แลกเปลี่ยนก๊าซแล้ว ยังอาจทําหน้าที่อื่น ๆ ได้แก่โบกพัดและคัดกรองอาหารในน้ํา และน่าจะเกี่ยวข้องกับการกระจายตัวของเซลล์สืบพันธุ์อีกด้วยth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการแลกเปลี่ยนก๊าซth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectหอยตะโกรมกรามth_TH
dc.subjectหอยนางรมth_TH
dc.subjectเลือดth_TH
dc.titleกายวิภาคและมิญชวิทยาของเหงือกหอยตะโกรมกรามดํา Crassostrea iredalieth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issueฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 6
dc.volume19
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to reveal anatomical and histological structure of the Black-scar oyster, Crassostrea iredalie gills. Adult oysters were randomly collected from the coasts of Chonburi Province. Results showed that the gills were classified as Pseudolamellibranch type. Four gill lamella, which originated form two gill axis comprising two pair. Each pair consists of inner and outer lamellae. The inner lamella are reflected on themselves and continue upward along the plane of the ascending lamella to fuse with visceral mass inferior to the common afferent vein. The outer lamella are also reflected but the edge of the plate fused with mantle next to branchial efferent vein. Water tubes are surrounded gill lamella to pass water by gill filament where gas exchange takes place. There are 12-14 gill filaments in the Black-scar oyster.According to gill architecture of the Black-scar oyster, it is indicated the function of gills are not only perform gas exchange but also function as food filter and gamete dispersal during spawning.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal.
dc.page422-433.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
422-433.pdf11.51 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น