กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2603
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธงชัย บ้านไกล
dc.contributor.authorวรากร ทรัยพ์วิระปกรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2603
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการใช้อัตชีวประวัติในการปรึกษากลุ่ม เพื่อพัฒนาความสอดคล้องในการมองโลกของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำ กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนโรงเรียนประจำระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 20 คน แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คนได้แก่ 1) กลุ่มทดลองที่ทำการวัดก่อนและวัดหลังการทดลอง 2) กลุ่มทดลองที่วัดเฉพาะหลังการทดลอง 3) กลุ่มควบคุมที่วัดก่อนและวัดหลังการทดลองและ 4) กลุ่มควบคุมที่วัดเฉพาะหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามความสอดคล้องในการมองโลก และโปรแกรมการใช้อัตชีวประวัติในการปรึกษากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ 2 x 2 (Two Way Factorial ANOVA) ผลการวิจัยพบว่านักเรียนโรงเรียนประจำในกลุ่มทดลองทั้งที่มีการวัดก่อนและไม่วัดก่อน มีความสอดคล้องในการมองโลกสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมทั้งที่มีการวัดก่อนและไม่วัดก่อน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectความสอดคล้องในการมองโลกth_TH
dc.subjectอัตชีวประวัติth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษา
dc.titleการใช้อัตชีวประวัติในการปรึกษากลุ่ม เพื่อพัฒนาความสอดคล้องในการมองโลกของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำth_TH
dc.title.alternativeThe autobiogarphy group counseling on sense of coherence of the junior secondary school students in a boarding-schoolen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume23
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of the autobiography group counseling on developing sense of coherence of the junior secondary school students in a boarding-school. The sample consisted of 20 Mathayomsuksa II students. The sample was divided into four groups; 1) the experimental group, comprised 5 students who had done pretest and posttest. 2) the experimental group, comprised of 5 students who had done only posttest. 3) control group, comprised of 5 students who had done pretest and posttest and 4) control group, comprised of 5 students who had done only posttest. The instruments were the sense of coherence questionnaire and autobiography group counseling program. The data were analyzed by multivariate analysis of variance 2x2 (two way factorial ANOVA). The results revealed that both of experimental groups demonstrated higher score on the sense of coherence than both of control groups, significantly at .05 level.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education
dc.page259-273.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
259-273.pdf183.43 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น