กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2602
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมโภชน์ อเนกสุข
dc.contributor.authorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.authorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.authorปัญญา ศิริโชติ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:07Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2602
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เพื่อหาตัวแบบปัจจัยประสิทธิภาพ วิเคราะห์องค์ประกอบหลักประสิทธิภาพ ระบุกลุ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล การวิเคราะห์กลุ่ม และการวัดอนุกรมวิธาน และ ศึกษาความสอดคล้องของการระบุกลุ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล การวิเคราะห์กลุ่ม และการวัดอนุกรมวิธาน กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2549 – 2553 จำนวน 93 เขตพื้นที่การศึกษา เป็นสถานศึกษาจำนวน 395 แห่ง เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม R ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การวิเคราะห์กลุ่ม การวิเคราะห์องค์ประกอบหลักและการวิเคราะห์การวัดอนุกรมวิธาน และใช้โปรแกรม DEAP 2.1 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของสถานศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบปัจจัยประสิทธิภาพของสถานศึกษา คือ ตัวแบบที่เป็นไปได้ 9 ตัวแบบ ประกอบด้วย มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 และ มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานด้านครู มาตรฐานที่ 8 และ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ 10 มีองค์ประกอบหลักประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 อธิบายมาตรฐานที่ 2, 6, 8 และ10 องค์ประกอบที่ 2 อธิบาย มาตรฐานที่ 2, 8 และองค์ประกอบที่ 3 อธิบาย มาตรฐานที่ 6 และ8 ส่วนการระบุกลุ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล ระบุกลุ่มมีประสิทธิภาพร้อยละ 38.41 การวิเคราะห์กลุ่ม ร้อยละ 22.02 และการวัดอนุกรมวิธาน ร้อยละ 56.20 และความสอดคล้องของการระบุกลุ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล การวิเคราะห์กลุ่ม และการวัดอนุกรมวิธานมีความสอดคล้องกันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการวัดอนุกรมวิธานth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์จัดกลุ่มth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์วางกรอบข้อมูลth_TH
dc.subjectผลิตภาพการศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษา
dc.titleการระบุกลุ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล การวิเคราะห์กลุ่ม และการวัดอนุกรมวิธานth_TH
dc.title.alternativeThe efficiency identifying of basic education school quality: data envelopment, cluster analysis, and taxometric analysisen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume23
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study model of factors basic education school efficiency, to detect principal component of factors basic education school efficiency, to indentify school efficiency using data envelopment analysis, cluster analysis, and taxometric analysis, and to study the consistency of results using data envelopment analysis, cluster analysis, and taxometric analysis. The sample consisted of 395 basic education schools. The research instrument was assessment report of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) Data analyzed by descriptive statistical analysis, cluster analysis, principal component analysis, taxometric analysis through R program, and data envelopment analysis through DEAP 2.1 program. The major findings are 1) the model of factors basic education school efficiency score core from the 9 possible models including STUDENT STANDARD 2, 6, TEACHER STANDARD 8, and ADMINISTRATOR STANDARD 10; 2) the principal component of factors basic education school efficiency including component 1 which describes STUDENT STANDARD 2, 6, TEACHER STANDARD 8, and ADMINISTRATOR STANDARD 10; component 2 which describes STUDENT STANDARD 2, and TEACHER STANDARD 8; component 3 which describes STUDENT STANDARD 6, and TEACHER STANDARD 8; 3) the indentify school efficiency using data envelopment analysis finds 38.41 percentages with high efficiency, cluster analysis finds 22.02 percentages, and taxometric analysis finds 56.20 percentages; 4) the consistency of results using data envelopment analysis, cluster analysis, and taxometric analysis indicate similar results.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education
dc.page204-217.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p204-217.pdf4.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น