กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2573
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:16:05Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:16:05Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2573 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีคะแนนความสัมพันธ์กับเพื่อนในระดับมาก และสมัครใจเข้าร่วมวิจัยจำนวนชั้นเรียนละ 10 คน รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรม แนวจิตตปัญญา และแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษาดำเนินการอบรมนักเรียนชั้นละ 3 ครั้ง ๆ ละ 3 ชั่วโมง ทำการทดสอบผลการอบรมด้วยแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา โดยทำการทดสอบก่อน อบรม หลังอบรม และติดตามผลหลังอมรมเป็นเวลา 1 เดือน แล้วนำผลการทดสอบมาทำการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เข้าอบรมมีคะแนนคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ภายหลังอบรมและระยะติดตามผล สูงกว่าก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Abstract The purpose of this research was study the effects of contemplative education practice on characteristic of youth peer counselor. The sample consisted of thirty lower secondary school students in A Boarding-School at Chonburi Province. Who had the Best Friend Questionnaire (BFQ) were at a high level and volunteered to join this research: ten students for each to three classes. The instruments were Contemplative education practice program and Desirable Characteristics Inventory for Youth Peer Counselors. The interventions were conducted: three hour for each session to three sessions per group. The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test and the Follow- up after post-test a month. The data were analyzed by repeated - measure analysis of variance. The results revealed that participants demonstrated significantly higher at .05 levels on characteristic of youth peer counselor in both the post-test and the follow - up than in the pre-test. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษา | th_TH |
dc.subject | จิตตปัญญาศึกษา | th_TH |
dc.subject | เยาวชน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำ จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education | |
dc.page | 204-218. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p204-218.pdf | 5.32 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น