กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2551
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิไลพร สว่าง
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:03Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:03Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2551
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนจ่าทหารเรือกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนจ่าทหารเรือที่สูบบุหรี่อยู่เป็นประจำมีระดับการติดนิโคตินเล็กน้อยนำมาสุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลากจำนวน 20 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบจัดการตนเองและแบบบันทึกพฤติกรรมการสูบบุหรี่ประจำวันด้วยตนเอง แบ่งการทดลองเป็น 3 ระยะคือ ระยะก่อนทดลอง ระยะการทดลอง และระยะหลังทดลอง วิเคราะห์ความแปรปรวนของพฤติกรรมการสูบบุหรี่ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะของการทดลอง และเปรียบเทียบพฤติกรรมการสูบบุหรี่เป็นรายคู่ ด้วยวิธีทดสอบแบบ Least Significant Difference ผลการศึกษาพบว่านักเรียนจ่าทหารเรือกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลงกว่ากลุ่มควบคุม ในระยะการทดลองและหลังทดลองที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการสูบบุหรี่th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectนักเรียนนายเรือth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleการปรึกษากลุ่มแบบจัดการตนเองเพื่อลดพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนจ่าทหารเรือth_TH
dc.title.alternativeSelf-management group counseling to reduce smoking behavior of naval rating studenten
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume7
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the smoking behavior of Naval Rating Students in the experiment and in the control groups. The sample consisted of the students who smoke on regular basis and had less nicotine dependence, A random sampling was employed to get 20 students then divided into 2 groups. Each group contained 10 students for experiment and the control groups. The instrument used in the study was the Counseling group Self-Management Program and self-record smoking habit. The study was designed into 3 phases pre-trial, trial and post- trial. The analysis of variance was used to identify smoking behavior during the trial and the duration of the trial periods. Then divided smoking behavior in pairs to get the results by using Least Significant Difference. The results showed that the students in the experiment group had smoking behavior less than students in the control group both during the trial and post-trial phase at .05 level of significanceen
dc.journalวารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page85-99.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edusoc7n2_7.pdf1.88 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น