กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2530
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชัยศักดิ์ อิสโร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:16:02Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:16:02Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2530 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันวัสดุแม่เหล็กระดับนาโนได้มีการศึกษาและนำมาประยุกต์ใช้ในตัวบันทึกของฮาร์ดดิสก์ไดรฟว์ แต่เนื่องจากขนาดของเกรนมีผลกระทบต่อการเกิดปรากฏการณ์ซุปเปอร์พาราแมกนิติกของวัสดุ ส่งผลให้บิทมีพฤติกรรมไม่เสถียรต่อความร้อน ดังนั้นขนาดเกรนของวัสดุในตัวบันทึกไม่สามารถทำให้มีขนาดเล็กลงได้ จึงจำเป็นต้องศึกษาหาแนวทางเพื่อคิดค้นเทคนิคใหม่ๆ ในการพัฒนาการเพิ่มความหนาแน่น เทคนิคที่ได้มีการศึกษาและพัฒนาในปัจจุบัน ได้แก่ เทคนิคการบันทึกในแนวตั้ง ซึ่งอาศัยหลักการการเรียงตัวของแมกนิไตเซชันของตัวบันทึกให้มีทิศตั้งฉากกับระนาบของดิสก์ ขณะเดียวกันการนำเทคโนโลยีการสร้างรูปแบบบิทในระดับนาโนมีหลากหลายวิธได้ถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของตัวบันทึกชนิดแม่เหล็ก โดยการสร้างรูปแบบของบิทให้มีขนาดเล็กมีรูปแบบสม่ำเสมอ และความหนาแน่นสูง วิธีการกัดเซาะด้วยเทคนิคการกัดเซาะ (lithography) เป็นเทคนิคหนึ่งที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสร้างรูปแบบของบิทให้มีขนาดเล็กต่ำกว่า 100 นาโนเมตร (nm) ค่อนข้างมาก นอกจากนี้ในบทความ ยังได้รวบรวมข้อมูลและแนวคิดอื่นๆ ที่น่าจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อเทคโนโลยีการผลิตฮาร์ดดิสก์ดรฟว์ในอนาคต | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | จานแม่เหล็ก | th_TH |
dc.subject | นาโนเทคโนโลยี | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | ฮาร์ดดิสก์ | th_TH |
dc.subject | แม่เหล็ก | th_TH |
dc.title | แม่เหล็กระดับนาโนและการประยุกต์ใช้เป็นตัวบันทึกชนิดแม่เหล็ก | th_TH |
dc.title.alternative | Nanomagnetism and its application as magnetic recording | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 14 | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | Currently, nanomagnetism has been investigated and applied for using as a magnetic recording of hard disk drive. However, the small of grain sizes leads to the superparamagnetism phenomenon, the instability of bit due to the thermal activation. Therefore increasing in the density of the magnetic recording is needed to be conducted by specific techniques such as the perpendicular recording. This technique is based on the perpendicular orientation of the magnetization to the disk surface. In addition, the technology in nanosacale has become an important to employ an increase of magnetic recording density by fabricating a pattern in a very small bit, regular and high density. The technological lithography is one of other techniques that is currently interested due to the pattern of bits can be made smaller than 100 nanometer. Furthermore, other details on future hard disk drive technologies are reviewed in this article. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal | |
dc.page | 138-145. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
138-145.PDF | 9.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น