กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2517
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:01Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2517
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างแบบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน 2) ตรวจสอบความยาก อำนาจจำแนก ความตรง และความเที่ยงของแบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การวัด และประเมินผลในชั้นเรียนที่สร้างขึ้น และ 3) หาคะแนนจุดตัดของแบบสอบที่สร้างขึ้นโดยการกำหนดมาตรฐานด้วยวิธีบุ๊คมาร์ค กลุ่มตัวอย่าง มี 2 กลุ่มคือ 1) ผู้ตัดสิน คือ อาจารย์ที่สอนรายวิชา การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน จำนวน 6 คน 2) ผู้สอบ คือ นิสิตชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ ที่ลงเรียนรายวิชา 400204 การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2553 ใช้วิธีการสุ่มแบบยกกลุ่ม (cluster sampling) จำนวน 667 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนประเภทที่เลือกตอบที่พัฒนาแล้ว ฉบับที่ 1 มีค่าความยากระหว่าง -2.50 ถึง 3.00 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .49 ถึง .88 และค่าการเดาระหว่าง .11 ถึง .29 และประเภทอัตนัย ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ .98 และค่าความยากมีค่าระหว่าง -2.17 ถึง .47 ส่วนฉบับที่ 2 ค่าความยากระหว่าง -1.39 ถึง 3.00 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .50 ถึง .90 และการเดาระหว่าง .11 ถึง .29 และประเภทอัตนัย ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ .47 และค่าความยากระหว่าง -0.98 ถึง .59 2) ค่าสารสนเทศของแบบสอบถามฉบับที่ 1 อยู่ในช่วงประมาณ 3.9 ถึง 5.0 และมีค่าสูงสุดอยู่ที่ระดับความสามารถ ประมาณ -1.0 ฉบับที่ 2 ค่าสารสนเทศของแบบสอบถามอยูในช่วงประมาณ 3.9 ถึง 12.0 และมีค่าสูงสุดอยู่ที่ระดับความสามารถประมาณ -0.5 3) คะแนนขุดตัดที่อยู่ในรูปคะแนนดิบและคะแนนความสามารถ จากแบบสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวัดและประเมินในชั้นเรียน ซึ่งกำหนดคะแนนจุดตัดด้วยวิธีบุ๊ค 7 ระดับ ดังนี้ (A) เท่ากับ 109 (1.453) ระดับดีมาก (B+) เท่ากับ 91 (1.293) (B) เท่ากับ 83 (1.203) ระดับดีพอใช้ (C+) เท่ากับ 65 (1.133) ระดับพอใช้ (C) เท่ากับ 49 (1.093) ระดับอ่อน (D+) เท่ากับ 30 (1.0130) และระดับอ่อนมาก (D) เท่ากับ 13 (.933)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษา
dc.titleการพัฒนาแบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนโดยกำหนดคะแนนมาตรฐานด้วยวิธีบุ๊คมาร์คth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume23
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to develop achievement tests for the educational measurement and evaluation of bachelor degrees at Burapha University, 2) to investigate the item difficulty indices, the item discriminating indices, and validity and reliability in achievement tests, and 3) to investigate the cut scores on the bookmark standard setting method. The sample was divided into two groups: 1) 6 Educational Measurement and Evaluation in the Classroom lecturers assessors (acting as assessors) from the Education faculty of Burapha University, and 2) 677 undergraduate students who studied educatuinal measurement and evaluation in the classroom, in 2010. The research instruments included: 1) both of midterm and final in educational measurement and evaluation achievement test: multiple choice items and essay items. Their scores were analyzed to find difficulty indices, discriminating indices, the reliability-by using the IRT model; 3 PL model and the Partial-credit model (PCM) and the validity-by finding the correlation. 2) the ordered item booklet: the OIB used in Bookmark standard setting method. The following are the research findings: 1. The first test, multiple choice items, indicated difficulty index were 2.50 to 3.00, the discriminating index were .49 to .88 and the guessing index were .11 to .29. The eassy items indicated the discrimination index was 0.98 and the item difficulty indices were -2.17 to .47. The second test, multiple choice items, the difficulty index were -1.39 to 3.00, the discriminating index were .50 to .90 and the guessing were .11 to .29. The eassy items indicated the discriminating index was 0.47 and the item difficulty indices were -.98 to.59. 2. The test information function of the first test was between 3.9 and 5.0, and the highest ability level was -1.0. For the second test, the test information function was between 3.9 to 12 and the highest ability level was -0.5 3. The cut scores in raw scores and examinee's ability of the achievement tests were divided into 7 levels, using the Bookmark method, as follows: excellent (A) was 109 , very good (B+) was 91, good (B) was 83, rather good (C+) was 65, fair (C) was 49.5, poor (D+) was 30, and very poor (D) was 13.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education
dc.page175-188.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p175-188.pdf4.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น