กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2508
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัศมี พระชัยศรี | |
dc.contributor.author | ประยูร อิ่มสวาสดิ์ | |
dc.contributor.author | วิชิต สุรัตน์เรืองชัย | |
dc.contributor.author | คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:16:00Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:16:00Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2508 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เปรียบเทียบปัญหาและแนวทางในการพัฒนาการบริหารงาน วิชาการ ในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต สังกัดกรมสร้างครู กระทรวง ศึกษาธิการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว จำแนกตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และอาจารย์ผู้สอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร และอาจารย์สอนในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต จำนวน 145 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบ มาตราประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหาการบริหารงานวิชาการในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขตสังกัดกรมสร้างครู กระทรวงศึกษาธิการโดย รวม และรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร รองลงมา คือ การวัดผล และการประเมินผล สุดท้าย คือ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 2. ปัญหาการบริหารงานวิชาการจำแนกตามความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอนไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต สังกัดกรมสร้างครู กระทรวง ศึกษาธิการ ด้านหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ควรจัดอบรมอาจารยผู้สอนเกี่ยวกับการวิเคราะห ์ หลักสูตรการ ์ เรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรมีการจัดอบรมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแต่ละรายวิชา การวัดและประเมินผลทางการเรียนควรอบรม อาจารย์ผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถในการทำการวิจัยในชั้นเรียน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา - - ลาว | th_TH |
dc.subject | วิทยาลัยครูปากเซ - - การบริหาร | th_TH |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา - - ลาว - - การบริหาร | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | |
dc.title | ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต สังกัดกรมสร้างครูกระทรวงศึกษาธิการ | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | This study purposed to examine the problems, comparisons and guidelines for academic affairs administrative development of Savannakhet Teacher Training College under the Teacher Training Department of Ministry of Education of Lao People’s Democratic Republic. The sample group of 145 that was used in this research which was classified into the opinions of administrators and teachers was 26 administrators and 119 teachers. The instrument used to collect the data was questionnaires using a 5 level scale, frequency, mean (X ), standard deviations (SD), and t-test were statistically used for the data analysis The findings revealed as follows: 1. Problems of administration of Savannakhet Teacher Training College under the Teacher Training Department of Ministry of Education totally and partly are at the medium level. After considering the rank of mean from maximum down to minimum, first was curriculum and curriculum administration; second was evaluation and third was teaching and learning activities. 2. Problems of administration classified by administrator posts and teachers was found to be no different. 3. Guidelines for academic affairs administrative development of Savannakhet Teacher Training College under the Teacher Training Department of Minister of Education. Curriculum and curriculum administration aspect should have teacher training courses in curriculum analysis. Teaching and learning activities should have seminars about teaching and learning related to the aims and objectives of the curriculum for each subject. Educational evaluation should train teachers to have a solid knowledge of classroom research. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education | |
dc.page | 35-46. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p35-46.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น