กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/249
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนบนและภาคตะวันออกตอนล่างของไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: A comparative study of the local buddha and deity immage sculptures in the upper and lower Eastern provinces of Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุชาติ เถาทอง
นพดล ใจเจริญ
อรอนงค์ เถาทอง
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
คำสำคัญ: ประติมากรรม - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย
ประติมากรรมพุทธศาสนา - - ไทย (ภาคตะวันออก) - - วิจัย
พระพุทธรูป - - ไทย (ภาคตะวันออก)
เทวรูป - - ไทย (ภาคตะวันออก)
สาขาปรัชญา
วันที่เผยแพร่: 2547
สำนักพิมพ์: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: การศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกตอนบนและภาคตะวันออกตอนล่าง จากการศึกษาพระพุทธรูปและเทวรูป พบว่า รูปแบบประติมากรรมส่วนมากมีลักษณะธรรมดา ศิลปลักษณะมีแบบอย่างคล้ายคลึงกับประติมากรรมในกรุงเทพฯ สมัยรัตนโกสินทร์ระยะหลัง จะมีรูปแบบโดดเด่นมาก ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปและเทวรูปที่สำรวจพบในภาคตะวันออกตอนบน (จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว) สมัยทวราวดี และลพบุรี หรือเขมรในประเทศไทยตามลำดับ ทั้งนี้ วิวัฒนาการของรูปแบบประติมากรรมท้องถิ่นในภาคตะวันออกตอนบนและตอนล่าง มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการเคลื่อนย้ายของผู้คนในบริเวณนี้เป็นสำคัญ
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/249
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น