กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2482
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.authorไตรมาศ บุญไทย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:15:59Z
dc.date.available2019-03-25T09:15:59Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2482
dc.description.abstractการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอุตสาหกรรมทีสร้างรายได้ให้กับประเทศไทยปริมาณมหาศาล แต่เนื่องด้วยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบพัฒนาที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบันเป็นระบบการเพาะเลี้ยงแบบพมฯาที่นำมาซึ่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้มและระบบเพาะเลี้ยงเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพน้ำเสื่อมโทรม การเกิดโรคระบาดบ่อยครั้ง การสะสมของสารอินทรีย์ในปริมาณสูงและมีผลกระทบต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม ดังนั้นทางเลือกหนึ่งที่สามารถป้องกันปัญหาเหล่านี้คือ การใช้โพรไบโอติก ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อยสลายสารอินทรีย์ ยับยั้งการเจริญของเชื้อก่อโรค กระตุ้นภูมิคุ้มกันและส่งเสริมการทำงานของระบบทางเดินอาหารของสัตว์น้ำ ทำให้สัตว์น้ำมีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตเพิ่มสูงขึ้น อำกทั้งการใช้โพรไบโอติกทำให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและให้ผลที่ยั่งยืน ซึ่งการใช้โพรไบโอติกในอดีตนั้นมุ่งเน้นใช้งานในผลิตภัณฑ์ อาหารคนและอาหารปศุสัตว์ ในขณะที่การใช้โพรไบโอติกเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพิ่งได้รับความสนใจเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา ซึ่งการใช้โพรไบโอติกในการเพาะเลี้ยงสัตว์นำในปัจจุบันได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากช่วยเพิ่มผลผลิตของสัตว์น้ำและช่วยลดปัญหาการเกิดโรคได้มาก แต่อย่างไรก็ตามการใช้โพรไบโอติกในปัจจุบันส่วนใหญ่ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทั้งนี้เกิดจากข้อจำกัดประการหนึ่งของผลิตภัณฑ์โพรไบโอติก คือ ปริมาณและชนิดของจุลินทรีย์ไม่ตรงตามที่กำหนดบนฉลากของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งจุลินทรีย์มีอายุการใช้งานไม่นานเพียงพอทำให้เมื่อผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการเก็บรักษานานขึ้นจะมีปริมาณและชนิดของจุลินทรีย์ลดลง และทำให้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีคุณภาพลดลง ดังนั้นการใช้โพรไบโอติกในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในอนาคตนั้นควรมีหน่วยงานทางวิชาการแนะนำให้มีการใช้โพรไบโอติกที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน เนื่องจากการใช้โพรไบโอติกนอกจากช่วยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของสัคว์น้ำได้แล้ว ยังช่วยลดต้นทุนการผลิตจากค่าใช้จ่ายในการใช้ยาปฏิชีวนะและลดการดื้อยาของเชื้อก่อโรคที่สร้างปัญหาให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและที่สำคัญที่สุดจะทำให้ผลผลิตโดยรวมของผลผลิตสัตว์น้ำของประเทศไทยมีคุณภาพสูงขึ้นและไม่มีการตกค้างหรือปนเปื้อนของยาปฏิชีวนะth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการเพาะเลี้ยงในน้ำth_TH
dc.subjectโพรไบโอติกth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
dc.titleโพรไบโอติก : อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของการใช้โพรไบโอติกในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.volume14
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeAquaculture generates a large amount of foreign income to Thailand. However, intensive aquaculture system, commonly used in aquaculture, causes a tremendous enviromental pollution and farming impact resulting in aquatic deterioration, incidence of antibiotic resistant of pathogenic bacteria, organic matter accumulation, and adverse ecological impact. Therefore, use of probiotics to beneficially affect the animal host by improving intestinal microbial balance would offer alternative approach to prevent the enviromental deterioration, based on inhibiting pathogenic, degrading organic substances, activating and advocating nutrient adsorption capacity in intestinal tract and enhancing survival and growth rate of the host. Additionally, probiotics has become popular for aquaculture because the use of probiotics is enviromental-friendly to aquaculture and generates sustained production. In the past, probiotics were mostly used as food supplement in human and terrestrial livestock diet while application of probiotics in aquatic animals has just fascinated 20 years ago. Currently, probiotics become increasing popular for aquaculture industry due to an increased production and a decline of disease outbreak after application of probiotics. However, problems associated with the use of probiotics have been related with the effciency of the commercial probiotics products as a result of mislabeling of the number and component of contained microbes in the products. Furthermore, commercial probiotics products have relatively short shelf life, resulting in the decrease of concentration and type of microbes over strorage time. Utilization of probiotics in aquaculture would be groverned by the academic institute for recommendation on the proper use of probiotics, development of probiotics products with longer shelf life and standardization of good probiotics products. The appropriate use of probiotics is considered as the alternative approach that enhances survival and growth rate of aquatic animals and reduces the cost emerged from antibiotic treatment. Finally, the occurrence of antibiotic resistance of pathogen that causes the problems to husbandry and aquatic products of Thailand would be eliminated and the quality of aquaculture products would be improved.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page67-79.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
67-79.pdf243.91 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น