กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2452
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.authorชรินทร์ เสนาวงษ์
dc.contributor.authorเกียรติสุดา สมนา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:15:57Z
dc.date.available2019-03-25T09:15:57Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2452
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ต่อกำลังอัดของจีโอพอลิเมอร์ คอนกรีตจากเถ้าถ่านหิน และกำลังยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กข้ออ้อยกับจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตจากเถ้าถ่านหิน ทำการเตรียมจีโอพอลิเมอร์ คอนกรีตจากเถ้าถ่านหินแม่เมาะ โซเดียมซิลิเกต (Na2SiO3) และ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) โดยใช้ความเข้มข้นของสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ เท่ากับ 8, 10, 12 และ 14 โมลาร์ กำหนดอัตราส่วนของ Si/Al คงที่เท่ากับ 1.98 หลังจากหล่อตัวอย่างทดสอบแกะแบบ และ บ่มตัวอย่างทดสอบในอากาศที่อุณหภูมิห้อง ทดสอบกำลังอัดที่ 7, 14, 28 และ 60 วัน นอกจากนั้นได้ทดสอบกำลังยึดเหนี่ยว (ใช้เหล็กข้ออ้อยเส้นผ่าศูนย์กลาง 12, 16 และ 20 มม. เกรด SD 30) ที่อายุ 28 วัน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า กำลังอัดของ จีโอพอลิเมอร์คอนกรีตมีค่าเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เพิ่มขึ้น และมีการพัฒนากำลังอัดในอัตรา ที่สูงในช่วง 14 วันแรก หลังจากนั้นกำลังอัดมีอัตราการเพิ่มลดลง อย่างไรก็ตามในกลุ่มที่ใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 14 โมลาร์ มีอัตราการเพิ่มของกำลังอัดสูงกว่ากลุ่มที่ใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่มีความเข้มข้นต่ำ ส่วนกำลังยึดเหนี่ยวระหว่าง จีโอพอลิเมอร์คอนกรีตกับเหล็ก มีค่าเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เพิ่มขึ้น แต่กลับมีค่าต่ำลงเล็กน้อย ที่ความเข้มข้น 14 โมลาร์ ในการศึกษาครั้งนี้สามารถหาสมการเพื่อคำนวณกำลังยึดเหนี่ยวเมื่อใช้เหล็กข้ออ้อยคือ UGeo = 2.50√fc ID โดยค่ากำลังยึดเหนี่ยวที่ได้จากสมการนี้มีค่าสูงกว่าสมการของ ว.ส.ท. ประมาณร้อยละ 10th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectจีโอพอลิเมอร์คอนเกรีตth_TH
dc.subjectเถ้าถ่านหินth_TH
dc.subjectโซเดียมไฮดรอกไซด์th_TH
dc.titleกำลังอัดและกำลังยึดเหนี่ยวของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตจากเถ้าถ่านหินth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume15
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThis research, the effect of sodium hydroxide (NaOH) concentrations on compressive and bond strengths of geopolymer concretes were studied. The geopolymer concrete were prepared from Mae Moh fly ash with sodium silicate (Na2SiO3) and sodium hydroxide (NaOH) solutions. The concentration of NaOH was varied at 8, 10, 12, and 14 molar and the Si/Al ratio was kept constant at 1.98. The concrete specimens were air-cured at room temperature and the compressive strength was tested at the ages of 7, 14, 28 and 60 days. In addition, the bond strength of geopolymer concrete (using deformed bar of 12, 16, and 20-mm in diameter, grade SD 30) was investigated at 28-day. The results showed that the compressive strength of geopolymer concrete significantly increased with the increase in concentration of NaOH. In the first 14-day curing, a dramatically increasing of compressive strength was found and then it showed gradually increased after 14 days. However, the geopolymer concrete with a high concentration of NaOH (14 molar) continuously gained strength (up to 60 days) faster than those of low concentration of NaOH. Besides, bond strength of geopolymer concrete also increase with NaOH concentration but they were found to decrease when the NaOH concentration was up to 14 molar. The equation of bond strength of deformed bar in geopolymer concrete UGeo = 2.50√fc ID was used to calculate the results which higer than that of EIT recommendation about 10%.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal
dc.page13-22.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
13-22.pdf1.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น