กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2437
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจิตรา ตีระเมธี
dc.contributor.authorณัฏฐวดี ภูคํา
dc.contributor.authorสุนันท์ ภัทรจินดา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:53Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:53Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2437
dc.description.abstractการศึกษาความหลากชนิดของคาลานอยด์โคพีพอดทะเลบริเวณอุทยานแห่งชาติหมูเกาะสุรินทร์จังหวัดพังงา เก็บตัวอย่างระหว่างวันที่ 6-8 เมษายน พ.ศ.2555 จํานวน 12 สถานีโดยใช้ถุงแพลงก์ตอนขนาดช่องตา 330 ไมโครเมตร ลากในแนวราบ เมื่อทําการจําแนกชนิด พบคาลานอยด์โคพีพอดทั้งสิ้น 41 ชนิด 23 สกุล 13 วงศ์ สําหรับการศึกษาความชุกชุมของคาลานอยด์โคพีพอด พบความชุกชุมรวมของคาลานอยด์โคพีพอดทั้งหมดในทุก สถานีมีค่าอยู่ในช่วง 7-1,666 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร โดยพบความชุกชุมรวมสูงสุดในสถานีที่ 3 บริเวณอ่าวไม้งาม และต่ำสุดในสถานีที่ 9 บริเวณอ่าวสับปะรด ในการศึกษาพบคาลานอยด์โคพีพอดชนิดที่เป็นรายงานครั้งแรกใน ประเทศไทย 1 ชนิด คือ Pontella denticauda A. Scott, 1909 โดยพบที่บริเวณอ่าวจากและอ่าวไม้งามของเกาะ สุรินทร์เหนือและพบที่อ่าวผักกาดและบริเวณชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสุรินทร์ใต้ พบความชุกชุมมีค่าอยู่ในช่วง 8-12 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร โดยพบความชุกชุมสูงสุดในสถานีที่ 8 บริเวณอ่าวผักกาด และต่ําสุดในสถานีที่ 1 บริเวณอ่าวจาก สถานีที่ 3 บริเวณอ่าวไม้งาม และสถานีที่ 7 บริเวณชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสุรินทร์ใต้มีความชุกชุมเท่ากันทั้งสามสถานีมีค่าเท่ากับ 8 ตัวต่อลูกบาศก์เมตรth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectความชุกชุมth_TH
dc.subjectความหลากชนิดth_TH
dc.subjectคาลานอยด์โคพีพอดth_TH
dc.subjectอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์th_TH
dc.titleความหลากชนิดของคาลานอยด์โคพีพอดทะเล บริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์: การรายงานโคพีพอดที่พบเป็นครั้งแรกในประเทศไทย.th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issueS1
dc.volume7
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe species diversity of marine calanoid copepods at Surin Islands National Park, Phang Nga Province was studied during April 6-8, 2012. Marine calanoid copepod samples from 12 stations were collected by using horizontal towed net with 330 micrometer mesh size. A total of 41 species 23 genera and 13 families were reported. Total abundance of calanoid copepods ranged from 7-1,666 individuals/m^3 . The most abundance of calanoid copepods was found at station 3 (Mai Ngam Bay) while the lowest abundance of them was found at station 9 (Sapparot Bay). Pontella denticauda A. Scott, 1909 is a new record of Thailand, which was detected at Jak and Mai Ngam Bays of North Surin Island as well as Phak Kat Bay and the south western coast of South Surin Island. Total abundance of Pontella denticauda ranged from 8-12 individual/ m^3. The most abundance of P. denticauda was found at station 8 (Phak Kat Bay) and the lowest abundance of it was found at station 1 (Jak Bay), station 3 (Mai Ngam Bay) and station 7 (south western coast of South Surin Island) with 8 individual/ m^3.en
dc.journalวารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง = Journal of Fisheries Technology Research.
dc.page45-59.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น