กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/242
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิคม มูลเมือง | th |
dc.contributor.author | รัชนีวรรณ รอส | th |
dc.contributor.author | นภาพร มูลเมือง | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:21Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:21Z | |
dc.date.issued | 2544 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/242 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดูแลสุขภาพทางเพศของชายบริการทางเพศกับปัจจัยด้านต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยนำ คือ องค์ประกอบด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา รายได้ จำนวนระยะเวลาที่ทำงานในสถานบริการ องค์ประกอบเรื่องเพศ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ ความพึงพอใจทางเพศ และปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนจากเจ้าของสถานบริการ การสนับสนุนจากเพื่อน กลุ่มตัวอย่างเป็นชายบริการทางเพศในเขตเทศบาลเมืองพัทยา จำนวน 300 คน เครื่องมอที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณ์โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 ท่าน ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและมีค่าความเชือ่มั่น อยู่ระหว่าง .50 - .83 ผู้วิจัยและทีมงานเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ ได้แก่ สถิติ Multiple regression ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยนำ คือ องค์ประกอบด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา รายได้ จำนวนระยะเวลาที่ทำงานในสถานบริการ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศ องค์ประกอบเรื่องเพศ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศสัมพันธ์ ความพึงพอใจทางเพศ พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศและปัจจัยเสริม ได้แก่ การสนับสนุนจากเจ้าขอสถานบริการพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศ การสนับสนุนจากเพื่อนพบว่ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศทั้งก่อน ระหว่างและหลังการมีเพศสัมพันธ์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบรายได้ ปี พ.ศ. 2543 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ผู้ชายขายตัว - - พฤติกรรมทางเพศ | th_TH |
dc.subject | ผู้ชายขายตัว - - สุขภาพและอนามัย | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการดูแลสุขภาพทางเพศของชายบริการทางเพศ | th_TH |
dc.title.alternative | Sexual health care behavior of male commercial sex workers | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2544 | |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the relationship between health care behavior of male commercial sex workers and its predisposing factors: a) socioeconomics factors; -age, education level, status, income, and duration of work in commercial sex service; b) sexual factors; -knowledge on sexual intercourse and sexual satisfaction; c) the reinforcing factors including employer support and peer support. A simple of 300 male commercial sex workers in Pataya Metropolitan were interviewed Questionnaires constructed by the research team were used. Content validity of the questionnaires was verified by five reviewers. Internal consistency reliability of the questionnaires ranged from .50 to .83. Frequencies, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis was used to analyze the data. The result of the study showed that the predisposing factor; -age, education level, status, income, duration of work in commercial sex service, knowledge on sexual intercourse and sexual satisfaction were not related to sexual health care behavior. For the reinforcement factors, employer support and peer support statistically were related to sexual health care behavior both during and pre-post sexual health care behavior. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2544_005.pdf | 1.71 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น