กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2401
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนุกูล บูรณประทีปรัตน์ | |
dc.contributor.author | อัญญดา มีสุข | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:49Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:49Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2401 | |
dc.description.abstract | ได้ดำเนินการวิเคราะห์และประมวลผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเชิงเวลาของปริมาณคลอโรฟิลล์-เอบริเวณพื้นผิวทะเลอันดามัน โดยใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม Aqua MODIS (MODerate-resolution Imaging Spectroradiometer) ในช่วงปี พ.ศ. 2546 – 2552 ด้วยโปรแกรม SeaDAS (SeaWiFS Data Analysis System) พบว่าปริมาณคลอโรฟิลล์-เอที่ผิวทะเลบริเวณทะเลอันดามันในรอบปี เปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของลมมรสุม โดยมีค่าสูงในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (พฤศจิกายน-มีนาคม) ค่าสูงสุดอยู่ในเดือนมกราคม (0.62 ± 1.44 mg/m3) และมีค่าต่ำในช่วงลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (พฤษภาคม-กันยายน) ค่าต่ำสุดอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคม (0.26 ± 0.46 mg/m3) และจากความสัมพันธ์ของคลอโรฟิลล์-เอและอุณหภูมิที่ผิวทะเลในช่วงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือรวมถึงลักษณะของกระแสลม ในช่วงเวลาต่างๆ แสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นและลดลงของปริมาณคลอโรฟิลล์-เออาจมีความสอดคล้องกับกระบวนการน้ำผุด (upwelling) และกระบวนการน้ำมุด (downwelling) บริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของทะเลอันดามัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | คลอโรฟิลล์ | th_TH |
dc.subject | ภาพถ่ายทางอากาศ | th_TH |
dc.subject | มรสุม | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงเชิงเวลาของปริมาณคลอโรฟิลล์-เอบริเวณพื้นผิวทะเลอันดามัน จากการประมวลผลภาพดาวเทียมอะควา โมดิส (Aqua MODIS) | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 18 | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | This research was conducted to investigate temporal variations of sea surface chlorophyll-a in the Andaman Sea using Aqua MODIS (MODerate-resolution Imaging Spectroradiometer) data recorded from 2003 to 2009 and SeaDAS (SeaWiFS Data Analysis System). The results showed seasonal variations in averaged sea surface chlorophyll-a that high and low values occurred during the northeast (November to March) and the southwest (May to September) monsoons, respectively. The highest averaged value was found in January (0.62 ± 1.44 mg/m3 ) while the lowest in August (0.26 ± 0.46 mg/m3 ). The relationships of sea surface chlorophyll-a and sea surface temperature during the northeast monsoon, including monthly wind patterns, suggest that rise and fall of sea surface chlorophyll-a be controlled by coastal upwelling and downwelling, respectively, along the east coast of the Andaman Sea. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal | |
dc.page | 194-201. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
194-201.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น