กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/239
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธิดารัตน์ น้อยรักษาth
dc.contributor.authorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์th
dc.contributor.authorสุพัตรา ตะเหลบth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:21Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/239
dc.description.abstractการย้ายปลูกสาหร่าย Sargassum บริเวณเกาะแรด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2552 ถึงเดือนธันวาคม 2554 โดยใช้วัสดุ 2 แบบ คือแบบที่ 1 ท่อคอนกรีตทรงสามเหลี่ยมหล่อโปร่ง การลงเกาะของสาหร่าย Sargassum จะเกิดได้ดีบริเวณใกล้ฝั่ง ในปีที่ 2 ได้ย้ายวัสดุที่อยู่บริเวณไกลฝั่งเข้ามาบริเวณใกล้ฝั่ง ส่วนการปกคลุมพื้นที่ ของสาหร่ายสีน้ำตาล และสาหร่ายสีเขียว ผลรวมระหว่างปัจจัย (เดือนและพื้นที่) มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ผลการตรวจวัดกระแสน้ำแสดงให้เห็นว่าความเร็วและทิศทางของกระแสน้ำในบริเวณที่ตรวจวัดโดยเฉพาะจุดบริเวณใกล้ฝั่ง เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลาต่างๆ ในรอบปี เกิดจากอิทธิพลของคลื่น ลม และน้ำขึ้นน้ำลง สำหรับจุดวัดบริเวณใกล้ฝั่ง กระแสน้ำบริเวณนี้มีลักษณะปั่นป่วนมากกว่าเกิดจากอิทธิพลของคลื่นซึ่งจะมีความเด่นชัดมากขึ้นในวันน้ำตาย (Neap tide) กระแสน้ำในส่วนของบริเวณส่วนใหญ่มีกระแสน้ำไหลไปทางทิศใต้ คลื่นมีความรุนแรงทำให้กระแสน้ำทั้งบริเวณใกล้ฝั่ง และไกลฝั่งมีลักษณะที่ปั่นป่วนแทบจะไม่มีความแตกต่างกันเลย คลื่นที่รุนแรงมากเกินไปทำให้เกิดการฟุ้งกระจายและทับถมของตะกอนทรายบนวัสดุที่ทิ้งไว้ให้สาหร่ายลงเกาะ เกิดการรบกวนต้นอ่อนของสาหร่ายที่ลงเกาะทำให้ไม่สามารถเจริญเติบโตหรือเกิดความเสียหายได้th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectสาหร่าย - - การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectสาหร่ายทะเล - - การเพาะเลี้ยง - - วิจัยth_TH
dc.titleการย้ายปลูกสาหร่าย Sargassum บริเวณเกาะแรด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeTransplanting of Sargassum at rad island, Sattahip district, Chon buri, provinceth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe transplanting of Sargassum at Red Island, Sattahip District, Chon Buri Province was studied based on monthly observation form December 2009 to December 2011. There are two types of substrata such as concrete pipes and concrete on blocks that were constructed on a triangle shape. Sargassum plants had attached abundantly on artificial substrata at inshore area. In the second study year, all substrata at offshore were moved to inshore area. Brown and green seaweeds coverage were significantly different of month and area (P<0.05). Magnitude and direction of measured currents, especially at offshore station, vary seasonally due to the influences of wave, wind and tide. Effect on random current directions, which is prominent during neap tide period, is observed in the data from inshore area. Currents mostly direct to the south. The currents on both sides were showed no significant difference, due to the influences of wave. The sediment dispersed into water and affected to the attachment ability of plants to substrata.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น