กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2399
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กิดาการ สายธนู | |
dc.contributor.author | สมเกียรติ พันธ์ศิริ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:49Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:49Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2399 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวแบบการถดถอยส่วนประกอบหลักในการทำนายค่าปริมาณความเข้มข้นสูงสุดรายวัน ของก๊าซโอโซนที่ระดับพื้นผิวโลกจากปัจจัยมลพิษทางอากาศและปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาด้วยการวิเคราะห์ปัจจัย ข้อมูลสำหรับการศึกษา เป็นข้อมูลเกี่ยวกับสภาพมลพิษทางอากาศและสภาพทางอุตุนิยมวิทยาซึ่งเก็บที่สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในเขตภาคตะวันออกของ ประเทศไทยตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006 - 2010 ดัชนีสมรรถนะของตัวแบบจะพิจารณาจากค่าคลาดเคลื่อนซึ่งคำนวณจากชุดของข้อมูลที่ใช้ใน การสร้างตัวแบบซึ่งเป็นข้อมูลใน ปี ค.ศ. 2006 - 2009 และชุดของข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบซึ่งเป็นข้อมูลของ ปี ค.ศ. 2010 ผลการวิจัยพบว่ามีตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการทำนายค่าปริมาณความเข้มข้นสูงสุดรายวันของก๊าซโอโซนที่ระดับพื้นผิวโลก 5 ตัว ได้แก่ อุณหภูมิและการแผ่รังสีดวงอาทิตย์, ก๊าซมีเทนและก๊าซไฮโดรคาร์บอน, ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีขนาดไม่เกิน 16 ไมครอน (PM10), ความดัน และปริมาณน้ำฝน นอกจากนี้ยังพบว่าดัชนีสมรรถนะที่คำนวณจากชุดของข้อมูลที่ใช้ในการสร้างตัวแบบและชุดของข้อมูลที่ใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบให้ค่าคลาดเคลื่อนเอนเอียงเฉลี่ยมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์การถดถอย | th_TH |
dc.subject | มลพิษทางอากาศ | th_TH |
dc.subject | โอโซน | th_TH |
dc.title | การทำนายค่าปริมาณความเข้มข้นสูงสุดรายวันของก๊าซโอโซนที่ระดับพื้นผิวโลกด้วยตัวแบบการถดถอยส่วนประกอบหลัก | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 18 | |
dc.year | 2556 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to build the principal component regression model for predicting the daily maximum concentration of ground level ozone from air pollutant and meteorological factors by factor analysis method. Data for study is related to air pollutant and meteorological conditions collecting at eastern air quality stations of Thailand since 2006 to 2010. The performance index of model was considered from the error between the training data set (using data from 2006 - 2009) and the validation data set (using data in 2010). The research results indicated there were five influential variables to predict the daily maximum concentration of ground level ozone: Temperature and solar radiation, Methane and hydrocarbon, PM10, Pressure and Rain. Furthermore, for the performance index of the training data set and the validation data set gave the values of mean bias error approached to zero. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal. | |
dc.page | 144-152. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
144-152.pdf | 722.81 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด | |
144-152.pdf | 722.81 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น