กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2373
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปิยะวรรณ ศรีวิลาศ
dc.contributor.authorกานดา ใจดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:47Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:47Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2373
dc.description.abstractการศึกษาหาชนิดและปริมาณสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในดินตะกอนบริเวณชายฝั่งภาคตะวันออก ทำการเก็บตัวอย่าง 2 ครั้ง ในเดือนมีนาคม 2547 (ฤดูแล้ง) และเดือนสิงหาคม 2547 (ฤดูฝน) โดยเก็บตัวอย่างบริเวณปากแม่น้ำบางประกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงปากแม่น้ำตราด จังหวัดตราด พบว่าการสะสมของสารฆ่าแมลงในดินตะกอนขึ้นอยู่กับพื้นที่ศึกษา โดยการสะสมของสารฆ่าแมลงในเดือนสิงหาคม (ฤดูฝน) มีค่าสุงกว่าเดือนมีนาคม (ฤดูแล้ง) ในปริมาณ 205 ± 23 และ 153 ± 10 นาโนกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ตามลำดับ โดยพื้นที่อุตสาหกรรมมีแนวโน้มการสะสมของสารฆ่าแมลงสูงกว่าพื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในปริมาณ 224 ± 32 และ 188 ± 33 นาโนกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง) ตามลำดับ และบริเวณตลาดนาเกลือพบการสะสมของสารฆ่าแมลงสูงสุด 510 ± 187 นาโนกรัม/กรัม รองลงมาคือปากแม่น้ำกระแสร์ 499 ± 67 นาโนกรัม/กรัม ชนิดสารที่ตรวจพบความถี่สูงสุดในเดือนมีนาคม (ฤดูแล้ง) คือเอนโดซัลแฟน-2 และเอนโดซัลแฟน- 1 ในปริมาณ 96% และ 94% ตามลำดับ ส่วนในเดือนสิงหาคม (ฤดูฝน) คือแกมม่า-บีเอชชี และเบต้า-บีเอชซี ในบริมาณ 88% และ 72% ตามลำดับ และพบว่าสารกลุ่ม บีเอชชีมีค่าสูงในทุกเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ โดยแกมม่า-บีเอชซีตรวจพบปริมาณสูงสุด 88 ± 12 นาโนกรัม/กรัม (น้ำหนักแห้ง)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectชายฝั่ง - - ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)th_TH
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืชth_TH
dc.subjectยาฆ่าแมลงth_TH
dc.subjectออร์กาโนคลอรีนth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
dc.titleสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในดินตะกอนบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทยth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume11
dc.year2549
dc.description.abstractalternativeIn this study, qualitative and quantitative analyses of organochlorine pesticides were investigated in sediments collected from the East coast of Thailand; Bangpakong estuary ti Trat estuary in March 2004 (dry season) and August 2004 (wet season). It was found that the accumulation of organochlorine pesticides in the sediments depended on location. The accumulation in August (wet season) was higher than in the March (dry season) with the amount of 205 ± 23 and 153 ± 10 ng/g (dry wt.) respectively, and in the industrial zone was higher than that found in the aquaculture zone with the amount of 224 ± 32 and 188 ± 33 ng/g (dry wt.) respectively. The highest concentration were found at Na Kua (510 ± 187 ng/g) followed by at Prasa estuary (499±67 ng/g (dry wt.). The dominant species found in March (dry season) were endosulfan-2 (96%) and endosulfan-1 (94%) while those in August (wet season) were γ-BHC (88%) and β-BHC (72%). The concentrations of BHCs were high in all samples and the highest concentrations found were those of γ-BHC with the amount of 88±12 ng/g (dry wt.)en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา
dc.page26-39.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p26-39.pdf18.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น