กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2335
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ
dc.contributor.authorสรเพชร ภิญโญ
dc.contributor.authorณัฐรินทร์ ศรีเอกกวีรัตน์
dc.contributor.authorกมชนก ปานสง่า
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:44Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:44Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2335
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาและพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งชนิดต่างๆ เพื่อใช้กับปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน ได้แก่ แคลเซียมออกไซด์(CaO) แคลเซียมออกไซด์เผาที่อุณหภูมิ 800°ซ (CaO(800) สตรอนเซียมออกไซด์ (SrO) สตรอนเซียมออกไซด์ร้อยละ 5 ที่เคลือบฝังบนแคลเซียมออกไซด์ (5%SrO/CaO) โพแทสเซียมออกไซด์ร้อยละ 5 ที่เคลือบฝังบนแคลเซียมออกไซด์ (5%K2O/CaO) และโดยร้อยละ 50 ของทั้งสตรอนเซียมออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์ (50SrO/50CaO) โดยใช้ตัวเร่งปฏิกริยาร้อยละ 10 โดยน้ำหนักคิดเทียบกับน้ำมันปาล์ม และส่วนผสมของน้ำมันปาล์มกับเมทานอลที่อัตราส่วนโดยโมล 1:6 อุ่นที่อุณหภูมิ 65°ซ เป็นเวลา 3 ชม. จากการทดลองพบว่าจากปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันบนตัวเร่งปฏิกิริยา 50SrO/50CaO, SrO, CaO และ CaO(800) เอสเทอร์ของกรดไขมันร้อยละ 92, 91, 89 และ 83 ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณความแรงของบสบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยา และพื้นที่ผิวขิงตัวเร่งปฏิกิริยา รานเอสเทอริฟิเคชันบนตัวเร่งปฏิกิริยา 5%K2O/CaO และ 5%SrO/CaO ไม่พบกลีเซอรอล ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปริมาณด่างที่มีความแรงสูงและมีปริมาณค่อนข้างต่ำ ความแรงของด่างบนพื้นผิวไม่เพียงพอต่อการเร่งปฎิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันในขั้นตอนเริ่มต้น The present research aims to study and develop the catalysts for transesterification such as, calcium oxide (CaO) , fired calcium oxide at 800°C (CaO(800), strontium oxide (SrO), 5% strontium oxide loaded on calcium oxide (5%SrO/CaO) , 5% potassium oxide loaded on calcium oxide (5%K2O/CaO) and mixed 50% strontium oxide and 50% calcium oxide (50SrO/50CaO). The transesterification was carried out by molar ratio of palm oil and methanol 1:6 at 65°C for 3h with 10% by weight of soild catalyst based on palm oil. Fatty acid methyl ester (FAME) was achieved from transesterification catalyzed by 50SrO/50CaO, SrO, Cao, and CaO(800) at 92%, 91%, 89%, and 83%, respectively. These percentages of FAME are in accordance with the number of base sites, basic strengths and BET surface areas. No trace of glycerol was found from the transesterification on 5%K2O/CaO and 5%SrO/CaO catalysts since the number of strong basic sites on both catalysts, 5%K2O/CaO and 5%SrO/CaO, was fairly low and possibly inadequate to catalyze the starting step of transesterification.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectของแข็งth_TH
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาth_TH
dc.subjectทรานเอสเทอริฟิเคชันth_TH
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซลth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการศึกษาปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันด้วยสารตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งเพื่อผลิตไบโอดีเซลth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume29
dc.year2553
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม = Journal of science and technology Mahasarakham University.
dc.page139-148.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น