กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/232
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์th
dc.contributor.authorอภิรดี ปิลันธนภาคย์th
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/232
dc.description.abstractจาการคัดแยกหาราเอ็ดโดไฟท์จากป่าชายเลน (เพิ่มเติม) จำนวน 9 ชนิดคือ ต้นสักขี (Dalbergia candenatensis (Dennst) Prian). ฝาดดอกขาว (Lumnitzera nacemosa), ต้นโปรงขาว (Ceriops Decanolra) ต้นปอทะเล (Hibiscus tilliaceus), โกงกางใบใหญ่ (Rhizophora macronata), โกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata BL), ต้นตะบูนดำ (Xylocarpus granatum), ต้นโพทะเล (Thespesia populneoides) (Roxb) Kostel และต้นพืชไม่ทราบชื่อ 1 ชนิด โดยแยกเชื้อจากส่วนของใบ พบเชื้อราเอ็นโดไฟท์ทั้งหมด 59 ไอโซเลท และในจำนวนนี้พบเชื้อที่สร้างสารออกฤทธิ์ได้ 20 ไอโซเลท โดยมี 16 ไอโซเลทสามารถยับยั้งเชื้อ Methicillin resistant Staphylococcus aureus (MRSA), 6 ไอโซเลท สามารถยับยั้งเชื้อ Candida albicans, และ 5 ไอโซเลทสามารถยับยั้งได้ทั้งเชื้อ MRSA และ Candida albicans เมื่อเลือกเชื้อราเอ็นโดไฟท์ที่สร้างสารออกฤทธิ์ได้ดี มาศึกษาคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ในอาหารชนิดต่าง ๆ คือ อาหาร YM (Yeast extract-Malt extract), ISP2 (International streptomyces Project 2) และในอาหาร PDB (Potato dextrose broth) พบว่า ในอาหาร PDB เชื้อราส่วนมากสร้างสารออกฤทธิ์ได้ดี และเมื่อนำเชื้อราเหล่านี้มาจำแนกชนิดด้วยวิธีการเปรียบเทียบลำดับเบสใน 26S rRNA ยีน พบว่าไอโซเลท DC4-1 มีความใกล้เคียงกับ Cochliobolus hawaiiensis มากที่สุด (98% similarity), RA-2-1 มีความใกล้เคียงกับ Sordariomycetes sp. Genotype 549 isolate NC 0992, RM9-11 (95% similarity) มีความใกล้เคียงกับ Penicillium verruculosum strain kuc 1794 (97% similarity). UN6-12 มีความใกล้เคียงกับ Eurotiomycetes sp. Genotype108 lsolate AK1211 (99% similarity), UN6-13 และ XG2-6 มีความใกล้เคียงกับ Cochliobolus sativus NBRC 100193 และ Bipolaris zeicola NRRL 47506 ด้วยเปอร์เซ็นต์ความคล้ายคลึงที่ 95% และ 94% ตามลำดับ อย่างไรก็ดี เมื่อได้นำลำดับเบสของแต่ละอโซเลตนี้ไปสร้างแผนภูมิต้นไม้ พบว่ารา UN6-13 และ XG2-6เป็นชนิดเดียวกัน ซึ่งอาจไม่ใช่ทั้ง Bipolaris zeicola NRRL 47506 และ Cochliobolus sativus NBRC 100193 เนื่องจาก % similarity น้อย ส่วนรา DC4-1 จะใกล้เคียงกับ Cochliobolus australiensis มากกว่า C. hawaiiensis หรือ C.sativus อย่างไรก็ดี มี % similarity เพียง 98% ส่วนรา RA2-1 ก็เช่นเดียวกัน ไม่น่าจะใช่ทั้ง Sordariomycetes sp. และ Xylariaceae sp. ส่วนของแอคติโนมัยซีท เมื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาบางประการ CH54-4 ก็ไม่ได้มีลักษณะที่ที่เหมือนกันกับ Streptomyces thermocarboxydus เสียทีเดียว ซึ่งสอดคล้องกันเมื่อพิจารณาจากแผนภูมิต้นไม้ซึ่งเป็นไปได้มากที่จะเป็นชนิดใหม่ Streptomyce C17-1 เมื่อพิจารณาแผนภูมิต้นไม้น่ามีความเป้นไปได้มากที่จะเป็น S. diastaticus ส่วน Streptomyces A1-3 และ A3-3 น่าจะใช่ Streptomyces indiaesis เนื่องจากใกล้เคียงกับ strain NBRC13964 มากถึง 99-79% similarity และ 99.85% ตามลำดับ แต่เมื่อพิจารณาผลการศึกษาลำดับวิวัฒนาการจากแผนภูมิต้นไม้พบว่ามีความสัมพันธ์ที่แตกต่างออกไปจากแบคทีเรียที่ใกล้เคียง ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าอาจเป็นแบคทีเรียชนิดใหม่th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2555en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectป่าชายเลนth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectเชื้อรา - - การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectเชื้อรา - - การเพาะเลี้ยงth_TH
dc.titleการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสร้างสารแอนติไบโอติกจากราที่เป็นเอ็นโดไฟท์และแอคติโนมัยซีทบริเวณรากพืชป่าชายเลนth_TH
dc.title.alternativeOptimization of antimicrobial compounds production from endophytic fungi and actinomycetes surrounding mangrove plant rootsen
dc.typeResearch
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe additional isolation of endophytic fungi was performed from 9 species of the managrove plants: Dalbergia candenatensis (Dennst) Prain), Lumnitzera nacemosa, Ceriops Decanolra, Hibiscus tilliaceus, Rhizophora macronata, Rhizophora apiculata BL., Xylocarpus granatum, Thespesia populneoides (Roxb) Kostel and an unclassified specied. Out of 59 isolates of endophytic fungi recovered from the leaves, 20 isolates had bioactive activity: 16 isolates had antibiosis activity to MRSA, 6 isolates to Candida albicans and 5 isolates to both MASA and C. albicans. Some of the well antimicrobial activity producing isolates were selected to culture in Different types of media: YM (Yeast extract-Malt extract). ISP2 (International Streptomyces Project 2) and PDB (Potato dextrose broth). It was found that most of the endophytic fungi produced well the bioactive compounds in PDB. The base swquence analysis of 26S rRNA genes of these isolates revealed that endophytic fungi DC4-1was closest to Cochliobolus hawaiiensis (98% similarity), RA2-1 was closest to Sordariomycetes sp. Genotype 549 isolate NC 0992 (95% Similarity) RE9-11 was closest to Penicillium verruculosum strin KUC 1794 (97% similarity) UN6-12 was closest to Eurotiomycetes sp. Genotype 108 Isolate AK1211 (99% similarity), UN6-13 and XG2-6 were closest to Cochliobolus sativus NBRC 100193 and Bipolaris zeicola NRRL 47506 at 95% and 94% similarity, respectively. However, when the phylogenenetic tree was reconstructed, the endophytic UN6-13 and XG2-6 showed the same species in which neither the same to Bipolaris zeicola NRRL 47506 nor Cochliobolus sativus NBRC 100193 as percent Similarity was rather low. The endophytic funguas DC4-1 was closest to Cochliobolus australiensis than to Cochliobolus hawaiiensis or C. sativus, however the percent similarity was only 98%. The same to fungus RA2-1, which was not both Sordariomycetes sp. Genotype 549 isolate NC 0992 and Xylariaceae sp. In the actinomycetes part, when some of morphological characteristics were studied, strain CH54-4 was not exacyly the same identity to Streptomyces thermocarboxydus, which was most matched to. Result of the phylogenetic tree reconstruction showed a high tendency to be a new species. When considering the phy logenetic tree, Streptomyces C17-1, was closest to S. diastaticus. Streptomyces A1-3 and 3-3 might be S.indiaensis as very closest to strain NBRC 13964 (99.79% and 99.85% similarity, respectively). But when studied the result of the tree, it was founf mich different of relateness from the closest bacteria, in which the new species was most possibility as wellen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น