กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2314
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิมลรัตน์ จตุรานนท์ | |
dc.contributor.author | นิธิวดี ป่าหวาย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:43Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:43Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2314 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมแบบเน้นประสบการณ์ ในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับครูผู้สอนระดับประถมศึกษา และเพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรม การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมดำเนินการเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นที่ 2 การสร้างโปรแกรมการฝึกอบรม ขั้นที่ 3 การทดลองใช้โปรแกรมการฝึกอบรม และขั้นที่ 4 การประเมินโปรแกรมการฝึกอบรม ระยะที่ 2 การศึกษาผล การนำโปรแกรมการฝึกอบรมไปใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบความรู้การจัดกิจกรรม การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร แบบประเมินทักษะการจัดกิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมการฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ที่มีผลการประเมินความรู้ระดับปานกลาง (Intermediate) จำนวน 30 คน โดยใช้แผนการทดลองแบบ One group Pretest-Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1.ได้โปรแกรมการฝึกอบรมแบบเน้นประสบการณ์ในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ที่พัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบได้แก่ สภาพปัญหาและความจำเป็นของโปรแกรมการฝึกอบรมหลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อวิชา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการฝึกอบรมและการวัดและประเมินผล ผลการประเมินคุณภาพโปรแกรมการฝึกอบรมโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่าโปรแกรมการฝึกอบรมมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม และแต่ละองค์ประกอบมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก 2. ผลการนำโปรแกรมการฝึกอบรมไปใช้ พบว่า 1) ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอบรมค่าเฉลี่ยร้อยละ 83.20 ของคะแนนเต็ม สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 2) ทักษะการจัดกิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม อยู่ในระดับดี และ 3) ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทีมีต่อโปรแกรมการฝึกอบรมแบบเน้นประสบการณ์ในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อยู่ในระดับมาก | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การฝึกอบรม | th_TH |
dc.subject | ครู - - การฝึกอบรม | th_TH |
dc.subject | ครูภาษาอังกฤษ - - การฝึกอบรม | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมแบบเน้นประสบการณ์ในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครูผู้สอนระดับประถมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | A development of experiential training program on communicative english language instruction for elementary school teachers | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 22 | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | The study was the research and development. The main purpose of this research and development were to develop at training program on communicative English language instruction for elementary school teachers and to evaluate its efficiency. The study was organization into 2 phases. Phase 1 : The development of a training program. The training program was developed through 4 stages of research and development as follows. Stage 1 : Studying and surveying fundamental data. Stage 2 : Constructing a training program. Stage 3 : Experimenting of the training and stage 4 : Evaluating the training program. Two research instruments were used to collect data. One was an achievement test of the participants’ knowledge and skills on communicative English language instruction; the other was a 5 level rating scale teacher opinion questionnaire with 16 items. The training program was experimented with 30 elementary school teachers were purposively selected to be trained in the experimenting the program. The one group pretest-posttest design was utilized in the experimental phase. The data were analyzed by using the percentage, average means and standard deviation. The results of the study found that: 1. The training program composed of seven elements which were the problem and the need assessment, the principles of training program, the goals, the content, the training activities, the training materials and the methods of measurement and evaluation. It was qualified and rated at a high level by the experts 2. The results were that the experimental group: (1) After training, the trainees’ knowledge was higher than those of before training. The posttest average score was 83.20% which was higher than the criteria (70%). (2) The trainees’ skills on communicative English language instruction were at the good level, and (3) the trainees’ opinion was at the high level overall. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education | |
dc.page | 58-72. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p58-72.pdf | 4.86 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น