กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2311
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภิญญดาพัชญ์ เพ็ชรรัตน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:43Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:43Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2311 | |
dc.description.abstract | คำว่า “ การรู้หนังสือของเด็กปฐมวัย” นำมาใช้ในการอธิบายถึงพฤติกรรมและความเข้าใจเกี่ยวกับหนังสือและตัวหนังสือของเด็กอายุ 3-6 ปีในลักษณะการแสดงท่าทางเลียนแบบพฤติกรรมการอ่านเขียนหรือแสดงท่าทางคล้ายกำลังอ่านเขียนแม้ว่าเด็กจะยังไม่สามารถอ่านออกเขียนได้อย่างเป็นทางการ การรู้หนังสือของเด็กปฐมวัยหมายถึงการที่เด็กแสดงพฤติกรรมการอ่านเขียนขั้นต้นและการที่เด็กมีความรู้เกี่ยวกับตัวอักษรและเสียง ตัวหนังสือและภาพ คำและประโยค ความตระหนักเกี่ยวกับตัวอักษร ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเสียงกับตัวอักษร และการออกเสียงสะกดคำเบื้องต้น ซึ่งสังเกตได้การที่เด็กพยายามออกแบบข้อความสื่อสารโดยใช้สัญลักษณ์ด้วยตนเอง รวมถึงการแทนที่คำด้วยพยัญชนะหนึ่ง สอง หรือสามพยัญชนะ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่ออธิบายวิธีการเรียนรู้หนังสือของเด็กปฐมวัยและนำเสนอแนวปฏิบัติที่เหมาะสมในการส่งเสริมพัฒนาการทางการรู้หนังสือขั้นต้นของเด็กปฐมวัย บทความนี้เริ่มโดยนำเสนอความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการรู้หนังสือของเด็กปฐมวัย ข้อค้นพบจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการรู้หนังสือแรกเริ่มและการรู้หนังสือขั้นต้นระดับปฐมวัย มุมมองเกี่ยวกับการสอนเพื่อพัฒนาการรู้หนังสือระดับปฐมวัยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโดยเริ่มจากการสอนภาษาแบบเดิม โปรแกรมการเตรียมความพร้อมทางการอ่าน การสอนภาษาแบบองค์รวม สู่ปรัชญาการรู้หนังสือที่มุ่งเน้นการอ่านเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย จากนั้นกล่าวถึงประเด็นขัดแย้งเกี่ยวกับการรับรู้หนังสือของเด็กปฐมวัย รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ช่วงท้ายของบทความนำเสนอแนวการสอนภาษาที่มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาการรู้หนังสือของเด็กปฐมวัยบนพื้นฐานแนวการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การรู้หนังสือ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาปฐมวัย | th_TH |
dc.subject | การอ่าน | th_TH |
dc.subject | การเขียน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | เริ่มต้นอ่านเขียน : ย้อนคิดและเรียนรู้เกี่ยวกับการรู้หนังสือในระดับปฐมวัย | th_TH |
dc.title.alternative | Beginning to read and write: Rethinking and learning about literacy in early childhood | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 22 | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | The term literacy for young children is used to describe behaviors and understandings about text demonstrated by 3-6 year-old children when they imitate or approximate reading and writing behaviors even though they cannot read and write in the conventional sense. Young children literacy refer to emergent literacy and early literacy behaviors seen in children as they attempt to read and write including knowledge about letters and sounds, print and pictures, words and sentences, concept about print, understanding of letter-sound relationships, preliminary spelling with assigning a message to own symbols and representing a whole word with one, two or three letters, and using mainly consonants. The purpose of this article is to describe how young children learn literacy and introduce an appropriate practice aimed at supporting young children’s early literacy development. This article begins with concept of literacy in young children an emergent literacy, and early literacy perspective Research findings. It also provides a historical perspective on the shift in literacy development in preschool and kindergarten from traditional instructional practices, reading readiness program, whole language approach, to a literacy philosophy which emphasizes on reading and writing for real purposes. What follows is controversy regarding the way literacy is acquired and should be taught. It then goes on describing factors leading to concern. In the final part of the article, an effective literacy teaching based on developmentally appropriate practices in the early years of school is addressed | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education | |
dc.page | 15-31. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p15-31.pdf | 6.08 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น