กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2308
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญเสริม วัฒนกิจ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2308
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมทักษะปฏิบัติทางศิลปะ ด้านการวาดภาพระบายสี” ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมทักษะปฏิบัติทางศิลปะ ด้านการวาดภาพระบายสี ตามความต้องการการพัฒนาทางวิชาการของครูผู้สอนศิลปศึกษา เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นครูผู้สอนศิลปศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 40 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) การศึกษาวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. การสร้างหลักสูตร โดยแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาทางวิชาการ กำหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร กำหนดเนื้อหาของหลักสูตร วิเคราะห์ ผู้เข้าอบรม กำหนดกิจกรรมการฝึกอบรม และกำหนดการวัดและประเมินผล 2. การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร 3. การทดลองใช้หลักสูตร และ 4. การประเมินหลักสูตร สถิติที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติการทดลองที (t-test) ผลการศึกษาวิจัย 1.ได้หลักสูตรฝึกอบรมทักษะปฏิบัติทางศิลปะ ด้านการวาดภาพระบายสี ที่มีคุณภาพประกอบด้วย 7 หน่วยการเรียนรู้ คือ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี 2. ความหมายและความสำคัญของการจัดองค์ประกอบศิลปะ 3. องค์ประกอบที่เป็นพื้นฐานในการสร้างสรรค์งานศิลปะ (ทัศนธาตุ) 4. รูปแบบการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ 5. ทฤษฎีสี 6. การจัดภาพ และ 7. การวาดภาพระบายสี 2.ผลการประเมินหลักสูตรแบ่งเป็น 2 ประเด็น คือ 2.1 การประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นนี้ คุณภาพระดับดี ผ่านเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญกำหนดไว้ทุกประการ 2.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมของผู้เข้าฝึกอบรม ด้วยการทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมของผู้เข้าฝึกอบรม มีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการฝึกอบรมth_TH
dc.subjectการวาดเขียนth_TH
dc.subjectครูศิลปศึกษา - - การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectศิลปะth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษา
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมทักษะปฏิบัติทางศิลปะด้านการวาดภาพระบายสีตามความต้องการการพัฒนาทางวิชาการของครูผู้สอนศิลปศึกษาth_TH
dc.title.alternativeArt of paining training curriculum development according to the art education teachers academic requirementen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume22
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeThe research “Art of Painting Training Curriculum Development” aims to develop the training curriculum of painting according to the art education teachers academic requirement. It is the academic development. The sample were 40 art education teacher in prachinburi province, using with multi-stage random sampling. There are 4 parts of this research; 1. The designing curriculum, it divides into 6 steps which are the academic requirement analysis, curriculum’s objectives determination, and curriculum content determination, analyze the training attendances, create the academic activities, and determine the measurement and evaluation. 2. The curriculum improvement and development 3. Curriculum pretest and 4. Curriculum evaluation. The statistics of this research are average, Variance and T-test Result 1.The researchers have arranged the 7 units of training curriculum of painting, which are 1. Basic of painting 2. Meaning and importance of art components arrangement 3. Basic components to create the art (visual element) 4. Composition style 5. Colors theory 6. Frame arrangement 7. Drawing and painting 2.The evaluation; There are 2 keystones as follow: 2.1 Quality evaluation, by the specialists, the specialist evaluated this training curriculum and indicated that the quality of this curriculum was rising with “ Good” evaluation.This curriculum meets the standard of the specialists. 2.2 The achievement evaluation; the attendance have been done the evaluation by pre and post test of training. The result shows that the achievement of the attendances is growing up with the significant of .01en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page128-139.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p128-139.pdf4.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น