กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2301
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัตนากร ฉัตรวิไล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:42Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:42Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2301 | |
dc.description.abstract | ขบวนการผู้มีบุญ พ.ศ. 2444-2445 นั้น เกิดขึ้นทั่วหัวเมืองอีสาน ซึ่งมีอยู่กลายกลุ่มและมีผู้ศึกษาไว้หลากหลายมิติ แต่เนื้อหาส่วนใหญ่มักกล่าวถึงอุดมการณ์หลัก ซึ่งเป็นความเชื่อพระศรีอารีย์เพียงอย่างเดียว โดยละเลยความเชื่อและวัฒนธรรมท้องถิ่น การวิจัยครั้งนี้จึงเลือกศึกษากลุ่มองค์มั่น โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเหตุการณ์ขบวนการผู้มีบุญที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา พ.ศ.2444-2445 ความเชื่อพระศรีอารีย์ ความเชื่อทางไสยศาสตร์และความเชื่ออื่นๆ ในวิถีชีวิตคนอีสาน เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ความเชื่อที่ปรากฏในขบวนการผู้มีบุญกลุ่มองค์มั่น ผลการวิจัยพบว่า นอกจากความเชื่อพระศรีอารีย์แล้ว ยังมีความเชื่อทางไสยศาสตร์และความเชื่ออื่นๆ ของคนอีสาน ที่ทำให้เกิดการรวมตัวของขบวนการผู้มีบุญกลุ่มองคืมั่นขึ้น กลุ่มองค์มั่นมีความสัมพันธ์กับความเชื่อพระศรีอารีย์ในแง่ของการสร้างผู้นำ ซึ่งเป็นความพยายามสร้างภาวะการครองอำนาจนำให้เกิดขึ้น ในแง่ของความเชื่อทางไสยศาสตร์และความเชื่ออื่นๆ ถูกนำมาเป็นกลไกการครองอำนาจนำ รวมไปถึงการใช้อำนาจบังคับในบางพื้นที่ การรมตัวของกลุ่มองค์มั่นจึงเกิดจากการผสมผสานระหว่างความเชื่อพระศรีอารีย์ ความเชื่อทางไสยศาสตร์และความเชื่ออื่นๆ ของคนอีสานเข้าด้วยกัน ซึ่งผู้เข้าร่วมขบวนการไม่มีลักษณะร่วมของอุดมการณ์เดียวอย่างสิ้นเชิง แต่เป็นการผสมผสานสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในวิถีชีวิตของเขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้ขบวนการผู้มีบุญได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้าน แม้ว่าขบวนการผู้มีบุญจะถูกฝ่ายปกครองเรียกว่ากบฏและถูกปราบปรามไปในที่สุด | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ความเชื่อ | th_TH |
dc.subject | ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) - - ความเป็นอยู่และประเพณี | th_TH |
dc.subject | ไสยศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | พระศรีอารย์ | |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | |
dc.title | ความเชื่อที่ปรากฎในขบวนการผู้มีบุญ พ.ศ. 2444-2445 กรณีศึกษากลุ่มองค์มั่น | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 3 | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | There are resistance movements in B.E. 2444-2445 throughout the northeast and they have been studied in many dimensiouns especially in the ideal of the resistance movement, which is the belief of Sriaraya. Local culture and beliefs were ignored. As a result, the Ong Man's Group was studied in this research. The object of the research is to study resistance movements in B.E. 2444-2445, Sriaraya beliefs, occultism beliefs, and other beliefs of northeastern people. This is to analyze the relation of beliefs in resistance movements, Ong Man's Group. The results show that Sriaraya beliefs, occultism beliefs and other beliefs of northeast people built up the resistance movements, Ong Man's Group. Sriaraya beliefs used as the instrument for constructing fair. The finding indicates that the Ong Man's Group related to Sriaraya beliefs in leader creating aspect. It is to construct hegemony. Occultism beliefs and other beliefs were used to build up hegemonic apparatuses and coercion using in some areas. Sriaraya beliefs, occultism beliefs and other beliefs of the northeastern people caused by the Ong Man's Group assembling. The participants were not an idealism. Resistance movements were supported because of combining many things around their life style. Even though this is called rebellion, and was finally executed | en |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law | |
dc.page | 215-237. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p215-237.pdf | 223.34 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น