กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2300
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธีระ กุลสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2300
dc.description.abstractประเทศไทยได้มีการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามกรอบของนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544-2553 ซึ่งถูกแปลงเป็นแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2 ประเด็นที่ น่าสนใจคือ ผลของการจัดอันดับระดับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์โดยองค์การสหประชาชาติ พบว่า ผลการจัดอันดับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 76 ของโลก จากจำนวน 184 ประเทศและตกลงมาจากอันดับที่ 64 ในปี ค.ศ. 2008 บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ข้อค้นพบที่สำคัญของบทความนี้คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ไม่ทั่วถึงและการขาดมีส่วนร่วมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประชาชน เป็นสาเหตุหลักของการถดถอยในการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นนี่เป็นเรื่องที่ท้าทายรัฐบาลในการหาแนวทางพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆ ในระดับโลก Thailand has developed the “e-Government” as part of the information technology development plan belonging to the 2001-2010 Information Technology Framework. This project was adopted into the 1st and 2nd Information and Communication Technology Master Plan. It is interesting that the result of the 2010 United Nations e-Government Ranking appeared that Thailand was ranked at 76 out of 184 countries around the world, which was dropped down from the 2008 ranking placed at 64. Thai article aims to analyze the problems in developing Thailand’s e-Government. The findings of this article are those of the uneven development of IT infrastructure and the lack of e-Participation among citizen has primarily led to the impediment in the e-Government development. Such phenomenon has challenged the Thai government in seeking the ways towards e-Government to compete with other countries in the global level.th_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการบริหารรัฐกิจ - - ความล้มเหลวth_TH
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการบริหารรัฐกิจ - - ไทยth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
dc.titleการวิเคราะห์ความล้มเหลวและอุปสรรคของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ไทยth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue1
dc.volume4
dc.year2555
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of Politics, Administration and Law
dc.page159-191.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p159-195.pdf7.01 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น