กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2297
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุพจน์ บุญวิเศษ | |
dc.contributor.author | ผจงสุข เนียมประดิษฐ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:42Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:42Z | |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2297 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป้นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ การถ่ายทอด การรักษา รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับวัฒนธรรมการจักสานของชุมชนในจังหวัดชลบุรี ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้มาจากเอกสารการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตและการบันทึกกลุ่มประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี ทั้งที่เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดวัฒนธรรมของท้องถิ่นและผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมของท้องถิ่น เช่น ครูในโรงเรียน และชาวบ้านที่เป้นผู้ถ่ายทอด เด็กและเยาวชนที่ได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรม จำนวน ๓๐ คน ผลการวิจัยพบว่า ๑. การรับรู้วัฒนธรรมการจักสานของท้องถิ่นแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ คือ ลักษณะที่มีอยู่แล้ว ลักษณะของบุคคล และแหล่งเรียนรู้โดยมีการเรียนรู้ภายในครอบครัว ในโรงเรียนและในชุมชนเป็นหลัก ๒. ลักษณะการถ่ายทอดการจักรสานในวัยผู้ใหญ่ ได้รับการถ่ายทอดในมิติทางวัฒนธรรมสังคม เช่น การเรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิต อาศัยดูและจำจากคนรุ่นก่อนและมีการดัดแปลงพัฒนาแก้ไขในปัจจุบัน ส่วนเด็กและเยาวชนได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยผ่านระบบโรงเรียน ครอบครัว และการรับจ้างทำผลิตภัณฑ์จักรสานในชุมชน ๓. การรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่น พบว่ามีความพยายามที่จะรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นการจักสานในชุมชน สำหรับปัญหาและอุปสรรคอันเกิดจากงานจักรสาน คือ ให้รายได้ไม่นแน่นอนและไม่มากนัก ความต้องการของตลาดไม่มากเท่าที่ควร การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อให้เป็นที่ต้องการของตลาดยังไม่มากนัก งานจักรสานในปัจจุบันส่วนใหญ่ยังไม่มีอายุการใช้งานยาวนานเท่าที่ควร เยาวชนและคนรุ่นใหม่ยังไม่ให้ความสำคัญเท่าที่ควร รวมทั้งสภาพสังคมในชุมชน ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่นิยมทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรายได้แน่นอน มากกว่าการประกอบอาชีพจักสาร | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การอนุรักษ์วัฒนธรรม - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | หัตถกรรม - - ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | |
dc.title | การรับรู้ การถ่ายทอด และการรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชน : กรณีศึกษากลุ่มจักสาน จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 25-26. | |
dc.volume | 16 | |
dc.year | 2551 | |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. | |
dc.page | 93-104. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
93-104.pdf | 953.26 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น