กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2296
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิชิต สุรัตน์เรืองชัย
dc.contributor.authorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.authorเบญจา อ่วมนุช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2296
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน 2)พัฒนารูปแบบการสอน ตามทฤษฏีพฤติกรรมตามแผน ทฤษฏีการประมวลสารสนเทศและมโนทัศน์การรู้คิดตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดชลบุรี ดำเนินการวิจัยด้วยการสร้างเครื่องมือ รวบรวมข้อมูล และพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสัมฤทธิผลทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนำองค์ความรู้ที่ได้ไปผสานกับทฤษฏีการประมวลสารสนเทศและมโนทัศน์การรู้คิดในการพัฒนารูปแบบการสอน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสัมฤทธิผลทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามทฤษฏีพฤติกรรมตามแผน คือ เจตคติต่อพฤติกรรม การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมสัมฤทธิผลทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตัวแปร ทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรพฤติกรรมสัมฤทธิผลทางการเรียนได้ รูปแบบการสอนที่ได้จากการผสานทฤษฏีพฤติกรรมตามแผน ทฤษฏีการประมวลสารสนเทศและมโนทัศน์การรู้คิดประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) หลักการของรูปแบบการสอน 2)จุดประสงค์ของรูปแบบการสอน 3) การสร้างกระบวนการเรียนการสอน และ 4) การประเมินรูปแบบการสอน ผลการประเมินรูปแบบการสอน พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อการเรียน และความตระหนักรู้ในการคิดทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการรู้คิดth_TH
dc.subjectการศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectระบบการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเมตาคอคนิชันth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ และมโนทัศน์การรู้คิด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of teaching model on mathematics using theory of planned behavior, informational processing theory and metacognition concept for secondary school studentsen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume24
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to develop model of causal relationships factors that influence behavior learning outcomes Mathematics using Theory of Planned behavior. 2) Develop teaching model using theory of Planned behavior , Informational Processing Theory and Metacognition Concept. The sample consisted of students from secondary schools in Chonburi. Conducting research with questionnaire , collecting data and develop teaching model of relationships factors that influence behavior learnind outcomes Mathematics by theory of Planned behavior. This knowledge was mixed with Informational Processing Theory and Metacognition Concept for developing teaching model. The findings of this study were as follows : The results indicated that the adjusted model was consistent with empirical data. The variable that was statisticalally significant had direct effects on Mathematics foe Enhancing its learning outcomes and behavioural intention. The variables that were statisticalally significant had indirect effects on Mathematics foe Enhancing Mathematics learning outcomes, attitudes towards the behaviours, individual perceptions and subjective norms. The developed teaching model on mathematics consisted of 4 steps; 1) Prinicple of teaching model 2) Aims of teaching model 3) Process of teaching model 4) Evaluation of teaching model. The results of the experiment of teaching model showed that: Post-test scores of mathematics achievement, attitude towards learning mathematics and metacognitive awareness scores of the experimental group were significantly higher than per-test scores of the experimental and control group. Pose-test scores of mathematics achievement, attitude towards learning mathematics, and metacognitive awareness of the experimental group were significantly higher than that of the control group.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page108-121.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
edu24n2p108-121.pdf1.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น