กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2270
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อารมณ์ เพชรชื่น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:40Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2270 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยเรื่องนี้มี 3 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาภูมิหลังของนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชนที่มีความต้องการศึกษาต่อ และไม่ต้องการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น (2) เพื่อศึกษาความของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจเลือกศึกษาต่อของนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชนและ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ของสถานศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อกับการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อของนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชน การออกแบบการวิจัยประชากรที่ศึกษาเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาหลักสูตรพาณิชยการและบริหารธุรกิจ ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2545 จากโรงเรียนเอกชน 8 โรงเรียน ในเขตจังหวัดชลบุรี และฉะเชิงเทรา รวม 4,866 คนกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิได้กลุ่มตัวอย่าง 408 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 1 ฉบับ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ถามภูมิหลังของนักเรียน ตอนที่ 2 ถามความสำคัญของตัวแปรความต้องการที่เกี่ยวพันกับการตัดสินใจ เลือกศึกษาต่อ ตอนที่ 3 ถามลักษณะของสถานศึกษาและลักษณะการบริหารจัดการสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยความเบี่ยงเบน แบบมาตรฐาน t-test และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ปีที่ 3 ส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 18-19 ปี มีผลการเรียนเฉลี่ยส่วนมากอยู่ในระดับพอใช้ หรือปานกลาง รายได้ของครอบครัวส่วนมากค่อนข้างต่ำ บิดามารดา ส่วนมากประกอบอาชีพเป็นลูกจ้าง หลังจากจบการศึกษา ปวช. แล้วส่วนมากต้องการศึกษาต่อ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตัดสินใจศึกษาต่อคือต้องการพัฒนาตนเอง ต้องการพัฒนาทางอาชีพ ต้องการตอบสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง และต้องการพัฒนาสถานะภาพทางสังคมตามลำดับ ปัจจัยของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจศึกษาต่อ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปัจจัยของสถานศึกษาคือ ปัจจัยด้านโรงเรียน ที่สำคัญได้แก่ ความสามารถและปฏิบัติตน ของครู ระบบการจัดการภายในสภาพแวดล้อม และระบบการแนะแนวและจัดหางานตามลำดับ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | นักเรียนอาชีวศึกษา - - การศึกษาต่อ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อของนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชน | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Related to Private Vocational Student's Decision Making on Their Further Study | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 15 | |
dc.year | 2547 | |
dc.description.abstractalternative | Factors Related to Private Vocational Student’s Decision Making on Their further Study the purposes of this study were following: 1. To find out general back ground of vocational school students who decided to further their study as well as not to further their study. 2. To study the influence of factors affecting their decision on further study. 3. To study the relationship between various characteristics of the educational institutions and their decision. Research Methodology: The population in this study was third-year students studying commerce and business administration drawn from 8 private schools in Chonburi and Chacheongsao provinces in academic year 2545, totaling 4,866 students. Stratified sampling method was employed to draw 408 students from the population as the sample for the study. A questionnaire was used to collect the data for the study. The questionnaire was divided into 3 sections. The first dealt with general background of the respondents. The second section related to factors taken into consideration in the decision in the decision making process. The last involved the kind of educational institutions and the management preferred by the students. Techniques employed for the data analysis tncluded mean. Standard deviation, t-test and correlation. Conclusion: Most of the respondents were female with an average age of 18-19 years. Generally their grades was neither poor nor good. Most of them grades was neither poor nor god. Most of them belonged to low income families. Their parents were low-level employees. Most of the respondents wanted to further their study after the graduation. The variables given for their decision making to further the study, in order of importance, included the desire to improve themselves, to enhance prospect for better job opportunity, to please related persons, and to improve their social status. Educational institution factors significantly correlated at the .01 level with decision making to further the study. The respondents looked at several criteria for the choice of characteristics of the institution: the curriculum, location and image respectively. Also, the choice of institution management included the competency of the teachers, internal administration, environment and job placement service respectively. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of Education | |
dc.page | 65-75. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p65-76.pdf | 11.53 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น