กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2260
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัชชา คุณาทัพพ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.available2019-03-25T09:14:40Z
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2260
dc.description.abstractการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิดรัฐธรรมนูญที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญไทยและเกาหลี โดยวิจัยครอบคลุมตั้งแต่พัฒนาการของแนวคิดทฤษฏีรัฐธรรมนูญนิยม วิวัฒนาการแลเปรียบเทียบแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งในการศึกษาถึงแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมจะศึกษาคลอบคลุมพัฒนาการของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในแต่ละยุคสมัย จนถึงปัจจุบัน อีกทั้งศึกษาแนวคิดพื้นฐานอันเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม โดยทำความเข้าใจในแต่ละแนวคิดพื้นฐานของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม เพื่อประโยชน์ในการทำความเข้าใจแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จุดเด่นและจุดด้อยในรัฐธรรมนูญที่ส่งผลกระทบการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและพัฒนาของทั้งสองประเทศ ซึ่งการวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดเด่นและจุดด้อยของรัฐธรรมนูญตามแนวรัฐธรรมนูญนิยมของไทยและเกาหลีจะนำมาซึ่งความเข้าใจปัญหาของระบบการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญตามแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมของไทยและเกาหลี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นหนึ่งในแนวทางการแก้ไขปัญหาของประเทศไทยในอนาคตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectนิติศาสตร์ วารสารth_TH
dc.subjectรัฐศาสตร์ วารสารth_TH
dc.subjectวารสารกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์th_TH
dc.titleศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมในรัฐธรรมนูญไทย - เกาหลีth_TH
dc.title.alternativeComparative study on constitutionalism though in constitution of Thai-Koreaen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume3
dc.year2554
dc.description.abstractalternativeConstitutionalism has developed in the last two centuries almost exclusively in context of the state. Particularly, its categories and institutional solutions have been fashioned in respect to the functional concerns progressively assumed by the state form of government. In the current situation, a massive process of re-organization of the pubic space is taking place. States are outsourcing their functions to commonly established international or supranational agencies which often originate autonomous legal orders and, in some cases, even claim constitutional status. This study aims to analyze the comparative constitutionalism in the Constitution of Thailand and Korea. The research covers the development of theory in the Constitutionalism, evolution and concepts of the Constitutionalism in the Constitution of the Kingdom of Thailand and the Constitution of the Republic of Korea. Comparative analysis of strengths and weaknesses of the Constitutionalism in the Constitution of Thailand and Korea, which will lead to understanding of the political system under the Constitution by the Constitution of Thailand and Korea, especially for a solution of the future.en
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law
dc.page87-109.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
p87-109.pdf232.59 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น