กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2221
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุวิชญา เฉลิมแดน | |
dc.contributor.author | อดิศักดิ์ จันทรประภาเลิศ | |
dc.contributor.author | ภูริศ ศรสรุทร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:47Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:47Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2221 | |
dc.description.abstract | การค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ และการบริหารประสบการณ์ของลูกค้า เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ และการรับรู้ คุณค่าประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารประสบการณ์ของลูกค้า และการรับรู้คุณค่าประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยาเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารประสบการณ์ของลูกค้า และแรงจูงใจภายในของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การบริหารประสบการณ์ของลูกค้าและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อรักษาความสัมพันธ์ ระหว่างการรับรู้คุณค่าประสบการณ์ และการบอกต่อของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ ในจังหวัดนครศรีอยุธยาเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจภายในและการบอกต่อของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจ และการบอกต่อของของนักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ นักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบความแตกต่างผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ประชากร ใช้สถิติ T-test และใช้การวิเคราะห์ความแปรทางเดียว (One-Way ANOVA: F-test) และเปรียบเทียบรายคู่ด้วย LSD และ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยใช้เทคนิคแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) และนำเสนอผลการศึกษา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การตลาดเชิงประสบการณ์ | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยวโดยชุมชน - - พระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.subject | ประสบการณ์ | th_TH |
dc.subject | โฆษณาแบบปากต่อปาก | th_TH |
dc.title | การศึกษาการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริหารประสบการณ์ของลูกค้าที่มีผลต่อการบอกต่อของธุรกิจการท่องเที่ยวพักแรมแบบโฮมสเตย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between customers experience management strategy and word of mouth in home stay tourism in Ayutthaya, Thailand | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 5 | |
dc.year | 2553 | |
dc.description.abstractalternative | This study aims to examine relation between customer’s experience management strategy and word of mouth in home stay tourism in Ayutthaya province. A questionnaire was used to survey 350 home stay tourists. The data was analyzed by descriptive statistics, t-test, one-way ANOVA, LSD, and multiple regression. The results show that most respondents are female, aged between 21-30 years, hold a bachelor’s degree, are employees of private companies, and earn between 10,001 – 20,000 baht/month. Overall, the respondents indicate high level of satisfaction with home stays in Ayutthaya and will refer the places to others. However, tourists with different demographics such as gender, age, marital status, education, career, and earnings show different levels of value perception of experience management by home stay owners. It is found that experience management has significant effect on tourists’ spending and their perception of service excellence, entertainment, esthetic attractions, internal motivation, challenges, pleasures, self determination, and satisfaction, and satisfaction. In addition, their words of mouth have varied following changes in value perception of experience management by home stay owners, esthetic attractions, service excellence, entertainment, internal motivation, and self-determination. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Graduate School of Commerce | |
dc.page | 49-58. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น