กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/21
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจรัญญา ศุภวิฑิตพัฒนา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:42Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:42Z
dc.date.issued2548
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/21
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้วารสารภาษาต่างประเทศของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพาจัดซื้อในปีงบประมาณ 2546 ในด้านปริมาณการใช้วารสาร โดยแยกตามกลุ่มสาขาวิชาเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการคัดเลือกจนถึงพิจารณาจัดเก็บวารสารภาษาต่างประเทศในสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ในการวิจัยครั้งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบบันทึกและฟอร์มการให้บริการการใช้ภาษาต่างประเทศ จำนวน 190 รายชื่อ เป็นเวลา 56 วัน ในภาคการศึกษาที่ 2/2546 ในระหว่างวันที่ 3 พฤศจิกายน - 30 ธันวาคม 2546 ตั้งแต่เวลา 8.30 - 20.30 น. โดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ระหว่างวันที่ 3-30 พฤศจิกายน 2546 ระยะที่ 2 ระหว่างวันที่ 1-30 ธันวาคม 2546 แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ และคิดเป็นร้อยละ ดังนี้ 1. การใช้วารสารภาษาต่างประเทศที่จัดซื้อในข่ายการสำรวจทั้งหมด จำนวน 190 รายชื่อ มีการใช้วารสารจำนวน 184 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 96.84 มีความถี่การใช้ 3,129 ครั้ง วารสารที่ใช้มากเป็นอันดับแรก คือ Journal of food Science มีความถี่ในการใช้ 184 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 85.88 2. การใช้วารสารภาษาต่างประเทศกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 90 รายชื่อ มีการใช้วารสาร จำนวน 86 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 95.55 มีความถี่ในการใช้ 1,076 ครั้ง วารสาร ที่ใช้มากเป็นอันดับแรกคือ Art in America มีความถี่ในการใช้ 65 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 6.04 3. การใช้วารสารภาษาต่างประเทศกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี จำนวน 63 รายชื่อ มีการใช้วารสาร จำนวน 61 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 96.82 มีความถี่ในการใช้ 1,465 ครั้ง วารสารที่ใช้มากเป็นอับดับแรกคือ Journal of Food Science มีความถี่ในการใช้ 184 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 12.56 4. การใช้วารสารภาษาต่างประเทศกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 32 รายชื่อ มีการใช้วารสาร จำนวน 32 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 100 มีความถี่ในการใช้ 221 ครั้ง วารสารที่ใช้มากเป็นอันดับแรกคือ Journal of Advanced Nursing มีความการใช้ 31 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 8.36 5. การใช้วารสารภาษาต่างประเทศกลุ่มสาขาวิชาทั่วไป จำนวน 5 รายชื่อ มีการใช้วารสาร 5 รายชื่อ คิดเป็นร้อยละ 100 มีความถี่ในการใช้ 94 ครั้ง วารสารที่ใช้มากเป็นอันดับแรกคือ Time มีความถี่ในการใช้ 115 ครั้ง คิดเป็น ร้อยละ 53.00 ผู้วิจัยได้เสนอแนะว่าควรมีการประชาสัมพันธ์การใช้วารสารหลังจากที่ได้มีการบอกรับวารสารที่ได้รับใหม่มากกว่านี้ และควรมีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สำนักหอสมุดมีอยู่แล้วให้ผู้ใช้บริการทราบและ ได้ใช้ประโยชน์มากยิ่งขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด - - การศึกษาการใช้ - - วิจัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด - - วิจัยth_TH
dc.subjectวารสาร - - การศึกษาการใช้ - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectห้องสมุดและบริการของห้องสมุด - - วิจัยth_TH
dc.titleการใช้วารสารภาษาต่างประเทศในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeUse of English journals in the library of Burapha Universityen
dc.typeResearch
dc.year2548
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed to examine amounts and frequencies of the use of English journal in the library of Burapha University for each academic discipline. The journals were on shelves at the library as a membership subscription for the annual budget of the year 2003. The study findings were expected to be the fundamental information for more appropriated selection, and collection of all English journal in the library. Consequently, the users would increasingly meet their requirement. The instrument of this survey research included a recording form of using English journals in the library. The total of 190 English journals were listed in the form. Data collection included 56 days of the semester of the academic year from November 3 to December 30,2003 during 8:00-20:30 hrs. It divided into 2 phases: (a) phase 1, between November 3-30, 2003 and (b) phase 2, between December 1-30, 2003. Data were statistically analyzed using frequencies and percentages. The findings were as follow: 1. One hundred and eighty-four of 190 English journals were used (96.84%). The total frequency of using was 3,129 times. The Journal of Food Science was the frequently used journal. During the periods of data collection, this journal was used 184 times (85.88%). 2. There were 90 English journals related to disciplines of humanities and social science. Eighty-six of them were used (95.55%). The total frequency of using was 1,076 times. The Art in America was the frequently used journal. It was used 65 times (6.04%). 3. There were 63 English journals related to disciplines of sciences and technology. Sixty-one of them were used (96.82%). The total frequency of using was 1,465 times. The journal of food Science was the frequently used journal. It was used 184 times (12.56%). 4. There were 32 English journals related to disciplines of health sciences. All of them were used (100.00%). The total frequency of using was 221 times. The of Advanced Nursing was the frequency used journal. It was used 31 times(8.36%). 5. There were 5 English journals related disciplines. All of them were used (100.00%). The total frequency of using was 94 times. The Time was the frequency used journal. It was used 115 times (53.00%). The researcher suggests that the library should have increasing communication to the users for a new journal subscription. In addition, the current journals which have already established in the library database need to do more public relations to the users for maximal usefulness of all journals in the libraryen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2548_001.pdf1.65 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น