กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2183
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.authorประสาร อินทเจริญ
dc.contributor.authorสุธิดา กาญจน์อติเรกลาภ
dc.contributor.authorพรนันท์ คุณธร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:44Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:44Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2183
dc.description.abstractได้ทำการศึกษาฟลักซ์ของตะกอนแขวนลอยบริเวณปากแม่น้ำประแสร์ในปี พ.ศ. 2553 ในสามช่วงเวลา ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ (ฤดูแล้ง) ครั้งที่ 2 วันที่ 17-18 พฤษภาคม (ปลายฤดูแล้ง) และครั้งที่ 3 วันที่ 8-9 ตุลาคม (ปลายฤดูน้ำมาก) ฟลักซ์สุทธิของน้ำมีทิศไหลจากปากแม่น้ำออกสู่ทะเลในทุกฤดูกาล มีปริมาณ 2.60 × 106 m3/day ในช่วงฤดูแล้ง, 0.23 × 106 m3/day ในช่วงปลายฤดูแล้ง และ 0.43 × 106 m3/day ในช่วงปลายฤดูน้ำมาก ข้อมูลความเค็มและคุณภาพน้ำอื่นๆ จากสองระดับความลึกแสดงให้เห็นว่า เอสทูรี บริเวณปากแม่น้ำประแสร์เป็นแบบผสมผสานกันดีในช่วงฤดูแล้งและเป็นแบบแบ่งชั้นในช่วงฤดูน้ำมาก สำหรับปริมาณฟลักซ์สุทธิของ ตะกอนแขวนลอยที่ไหลผ่านเข้าออกปากแม่น้ำประแสร์ในฤดูแล้งมีทิศไหลออกสู่ทะเลในปริมาณ 103.66 ton/day ช่วงปลายฤดูแล้งมี ทิศไหลเข้าปากแม่น้ำในปริมาณ 110.11 ton/day และปลายฤดูน้ำมากมีทิศไหลออกสู่ทะเลในปริมาณ 63.21 ton/day ปริมาณตะกอน แขวนลอยในมวลน้ำมีแนวโน้มของการเพิ่มขึ้นและลดลงสอดคล้องกับความแรงของกระแสน้ำ โดยปริมาณจะเพิ่มขึ้นเมื่อกระแสน้ำมี กำลังแรงและลดลงในช่วงที่กระแสน้ำอ่อนกำลังลง แสดงถึงความสำคัญของกระบวนการฟุ้งกระจายของตะกอนจากพื้นท้องน้ำกลับสู่ มวลน้ำ (resuspension) ที่ส่งผลต่อฟลักซ์ของตะกอนแขวนลอยที่บริเวณปากแม่น้ำแห่งนี้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectตะกอนแขวนลอยth_TH
dc.subjectฟลักซ์th_TH
dc.subjectแม่น้ำประแสร์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleฟลักซ์ของตะกอนแขวนลอยบริเวณปากแม่น้ำประแสร์ จังหวัดระยอง พ.ศ. 2553th_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume18
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeSuspended sediment (SS) flux at the Prasae River mouth was investigated during 23-24 February (dry season), 17-18 May (late dry season) and 8-9 October (late wet season) of year 2010. Net water flux directed from the river to the sea in all seasons, 2.60 × 106 m3/day, 0.23 × 106 m3/day and 0.43 × 106 m3/day for dry, early and late wet seasons, respectively. Salinity and other water qualities, measured at two water depths, reveal that water column in the Prasae estuary was well-mixed and stratified during dry and wet seasons, respectively. Net SS flux directed seaward in dry season (103.66 ton/day) and late rainy season (63.21 ton/day), but riverward in late dry season (110.11 ton/day). Changes of SS in the water column were related to current magnitude in the river channel. High and low SS occurred during strong and weak currents, respectively, resulted from resuspension process. This phenomenon was expected to control SS flux in this estuary.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal
dc.page232-245.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
232-245.pdf1.21 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น