กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2176
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:44Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:44Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2176
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาถึงผลของเถ้าแกลบเปลือกไม้และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน ต่อระดับคลอไรด์วิกฤติในคอนกรีตที่แช่ในสภาวะแวดล้อมน้ำทะเล โดยใช้คอนกรีตควบคุมทำจากปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ที่มีอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.45 และ 0.65 ในแต่ละอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน ใช้เถ้าแกลบเปลือกไม้ที่ผ่านการบดละเอียดแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ในอัตราส่วนร้อยละ 15 25 35 และ 50 โดยน้ำหนักของวัสดุประสาน ตัวอย่างคอนกรีตขนาด 200x200x200 มม.3 และฝังเหล็กเส้นกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ยาว 50 มม. โดยมีระยะคอนกรีตหุ้มเหล็กเท่ากับ 10 20 50 และ 75 มม. หลังจากบ่มคอนกรีตในน้ำจนอายุครบ 28 วัน นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่บริเวณชายฝั่งทะเลใน จ.ชลบุรี ทำการเก็บตัวอย่างทดสอบปริมาณคลอไรด์อิสระ (ใช้น้ำทำละลาย) และคลอไรด์ทั้งหมด (ใช้กรดทำละลาย) ในคอนกรีต ณ ตำแหน่งที่ฝังเหล็ก และการกัดกร่อนของเหล็กที่ฝังในคอนกรีตหลังแช่คอนกรีต ในน้ำทะเลเป็นเวลา 2 3 5 และ 7 ปี จากความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคลอไรด์ในคอนกรีตที่ตำแหน่งฝังเหล็กกับการกัดกร่อนเริ่มต้น ของเหล็กที่ฝังในคอนกรีต สามารถวิเคราะห์หาระดับคลอไรด์วิกฤติในแต่ละส่วนผสมได้ ผลการวิจัยพบว่า ระดับคลอไรด์วิกฤติในคอนกรีต มีค่าลดลงเมื่อปริมาณการแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยเถ้าแกลบเปลือกไม้สูงขึ้นและมีค่าลดลงตามอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่มากขึ้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectขี้เถ้าแกลบth_TH
dc.subjectคลอไรด์th_TH
dc.subjectคอนกรีตth_TH
dc.subjectคอนกรีตผสมขี้เถ้าลอยth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleระดับคลอไรด์วิกฤติในคอนกรีตที่ผสมเถ้าแกลบเปลือกไม้ที่แช่ในสภาวะแวดล้อมทะเลth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue2
dc.volume18
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeIn this research, the effect of ground rice husk-bark ash (GRBA) and W/B ratios on threshold chloride level of concrete under marine environment were studied. Control concretes were prepared using Portland cement type I with W/B ratios of 0.45 and 0.65. Concretes contained with GRBA were cast using GRBA to replace Portland cement type I at the percentages of 15, 25, 35, and 50% by dry weight of binder at the same W/B ratios of the control concretes. Concrete cube specimens of 200x200x200 mm 3 were cast and steel bars of 12-mm in diameter and 50-mm in length were embedded with concrete coverings of 10, 20, 50, and 75 mm. Subsequently, the hardened concrete specimens were cured under fresh water for 28 days and then they were exposed to a tidal zone of marine environment in Chonburi province. The specimens were tested for free chloride (water soluble chloride) and total chloride (acid soluble chloride) contents at the position of embedded steel bar and corrosion of the embedded steel bar after being exposed to tidal zone of sea water for 2, 3, 5, and 7 years. The threshold chloride level was evaluated from the relationship between chloride content at the position of the embedded steel bar and initial corrosion of embedded steel bar. The results showed that the threshold chloride level of concrete was decreased with increasing GRBA replacement and with increasing in W/B ratio.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal
dc.page132-143.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
132-143.pdf1.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น