กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2154
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์
dc.contributor.authorสิตางศ์ เจริญวงศ์
dc.contributor.authorเทียนชัย ศศิศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:42Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:42Z
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2154
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการก่อรูปองค์กรของภาคประชาชนในจังหวัดตราด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาในเรื่องของปัจจัยและกระบวนการในการก่อรูป ปัจจัยและกระบวนการในพัฒนา และข้อเสนอในการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรภาคประชาชนในจังหวัดตราด มีวิธีการศึกษาแบบวิจัยเชิงคุณภาพแนวประวัติศาสตร์ โดยผู้วิจัยมุ่งศึกษาในกลุ่มขององค์กรมาภาคประชาชนในจังหวัดตราดที่มีบทบาทสำคัญในระดับจังหวัดซึ่งมีอยู่สามกลุ่ม คือ เครื่อข่ายกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ ที่เป็นกลุ่มที่เกิดขึ้นในภาคประชาคม กลุ่มองค์กรชุมชนฅนตราดซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมตัวของภาคประชาสังคมกับการรวมตัวขององค์กรที่ถูกจัดตั้งโดยรัฐ และกลุ่มสภาองค์กรชุมชนในฐานะที่เป็นองค์กรที่ถูกจัดตั้งโดยรัฐ ผลการศึกษาพบว่า ทั้งสามองค์กรมีปัจจัยและกระบวนการทำงาน ตลอดจนการพัฒนาที่มีความแตกต่างกัน คือ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์เป็นกลุ่มที่มีการก่อรูปขึ้นมาจากกลุ่มธรรมชาติโดยมีพระเป็นผู้นำในกลุ่มการทำงาน ดงันั้นการพัฒนาของกลุ่มจึงเป็นการพัฒนาที่อยู่บนเวื่อนไขการตอบสนองการแก้ปัญหาของชาวบ้านในจังหวัด ในองค์กรชุมชนฅนตราดพบว่าการก่อรูปและการพัฒนาของกลุ่มนั้นมีผลมาจากนโยบายและงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐที่เข้ามาผลักดัน จึงทำให้มีการพัฒนาที่เป็นไปตามรูปแบบของนโยบายและงบประมาณที่ภาครัฐกำหนดมาในแต่ละปี และกลุ่มสภาองค์กรชุมชนพบว่าการก่อรูปกลุ่มของสภาองค์กรชุมชนนั้นเกิดจากความต้องการอวค์กรที่ถูกกฎหมายของประชาชนในการเข้ามาทำงานในส่วนของพื้นที่สาธารณะในเรื่องของการม่าวนร่วมในการกำหนดแผนชุมชน ซึ่งสภาองค์กรชุมชนในจังหวัดตราด เกิดขึ้นจากการผลักดันพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชนของภาคประชนชนทั่วประเทศ หลังจากการเกิดพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชนในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงมีการผลักดันให้เกิดสภาองค์กรชุมชนในจังหวัดตราด แต่อย่างไรก็ตามสภาองค์กรชุมชนยังมีการพัฒนาที่เป็นไปในรูปแบบของการพัฒนาเชิงปริมาณที่เน้นการจัดตั้งอยู่ เนื่องจากการพัฒนาของสภาองค์กรชุมชนนั้นยังอยู่บนเงื่อนไขของการพัฒนาที่เป็นไปตามงบประมาณและนโยบายขององค์กรมหาชนth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางสังคม - - ไทย - - ตราดth_TH
dc.subjectสภาองค์กรชุมชน - - ไทย - - ตราดth_TH
dc.subjectองค์กรชุมชน - - ไทย - - ตราดth_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleการก่อรูปองค์กรของภาคประชาชนในจังหวัดตราดth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue30
dc.volume18
dc.year2553
dc.description.abstractalternativeThe matter of this thesis id the group organization of popular sector in Trat province. The thesis studies the factor, process of formulation, process of development and prescription of firming the group organization in Trat province. The research of this thesis is the qualitative historical method that focuses on Satajasrasomsap. Organization in Trat and The council of community. The result of this study is the factor, process of formulation, process of development and prescription of firming the group organization that are different according to each organization Satajasrasomsap formulate group organization according to problem of villages. Organization in Trat formulates group organization according to policy and budget of state. The council of community formulates group organization according to the act of legislation of council of community (2551) that support public sphere of people to formulating the plan of community. However the developments of the community remain policy and budget of public organizationen
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page161-174.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
161-174.pdf5.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น