กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2125
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภคพล พิริยะเบญจวัฒน์ | |
dc.contributor.author | อุบล ธเนศชัยคุปต์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2125 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแปลประโยคกรรมวาจกตามบริบทที่ปรากฏในบทบรรยายใต้ภาพยนตร์และศึกษาคำบ่งชี้กาลในประโยคฉบับแปลภาษาไทยจากประโยคกรรมวาจกต้นฉบับภาษาอังกฤษในกาลต่างๆ (Tense) ที่ปรากฏในบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ภาพยนตร์แนวแฟนตาซีที่จิระนันท์ พิตรปรีชาได้แปลช่วงปี ๒๕๔๐-๒๕๕๐ จำนวน ๖ เรื่อง จากผลการวิจัยพบว่ากลวิธีการแปลที่ใช้มากที่สุดในการแปลประโยคกรรมวาจกจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยคือ กลวิธีการหลีกเลี่ยงความหมายตรงตัว ตามต้นฉบับมีค่าร้อยละ ๓๗.๑๘ รองลงมา คือ กลวิธีการละคำแสดงวาจก มีค่าร้อยละ ๒๒.๒๒ กลวิธีการแปลที่พบน้อยที่สุด คือ การใช้คำ “มี” ตามด้วยประโยคกรรตุวาจก มีค่าร้อยละ ๐.๘๖ การศึกษาคำบ่งชี้กาลในประโยคภาษาฉบับแปลพบว่าผู้แปลเลือกใช้คำบ่งชี้กาลคำว่า “เคย” “แล้ว” “จะ” “ตลอดกาล” “ทุกวัน” และ ไม่ปรากฏคำบ่งชี้กาลในประโยคแปลภาษาไทยจากจำนวนข้อมูลทั้งหมด ๒๒๓ ประโยค พบประโยคที่ไม่ปรากฏคำบ่งชี้กาลมากที่สุดจำนวน ๑๗๗ ประโยค รองลงมาคือประโยคคำบ่งชี้กาล “จะ” จำนวน ๓๒ ประโยค และน้อยที่สุดคือ ประโยคปรากฏคำบ่งชี้กาล “ทุกวัน” และ “ตลอดกาล” จำนวน ๑ ประโยคเท่ากัน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การแปล | th_TH |
dc.subject | กาล | th_TH |
dc.subject | จิระนันท์ พิตรปรีชา | th_TH |
dc.subject | บทบรรยายใต้ภาพยนตร์ | th_TH |
dc.subject | บทภาพยนตร์ | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ | th_TH |
dc.subject | วาจก | th_TH |
dc.title | กลวิธีการแปลประโยคกรรมวาจกของจิระนันท์ พิตรปรีชา ในบทบรรยายใต้ภาพยนตร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Strategies used for translating passive sentences by Chiranan Pitpreecha in Thai movie subtitles | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 33 | |
dc.volume | 20 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study were to identify translation strategies of English passive sentences into Thai in movies subtitles and to examine Thai temporal words in Thai subtitles from English passive sentences in all tenses. The data were six fantasy movies translated by Chiranan Pitpreecha during 1997-2007. The findings indicated that the most frequently used strategy to translate passive sentences was equivalence and omission with the percentage of 37.18 and 22.22 respectively. The least used strategy translating passive sentence was the use of the word MEE placed before active sentence with the percentage 0.86. The study of temporal words in Thai subtitles from English passive sentences in all tenses showed that the translator used “KOEI” “LAAW” “JA” “TALAUDGARN” and “TOOK WAN”. Also, the findings indicated the use of on Thai temporal words in 177 out of 234 sentences. The temporal word of “JA” appeared in 32 sentences, while the word “TALAUDGARN” and “TOOK WAN” appeared in only one sentence. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 129-150. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p129-150.pdf | 6.78 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น