กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2104
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิมลรัตน์ จตุรานนท์ | |
dc.contributor.author | ปริญญา ทองสอน | |
dc.contributor.author | สุจิรา แก้วจินดา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2104 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกกิจกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเทศบาลวัดโขดทิมทาราม อำเภอเมือง จังหวัดระยอง จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 39 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย ใช้เวลาในการทดลอง 15 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ แบบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ทางภาษาไทยและแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนด้วยชุดกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 และโปรแกรม SPSS สำหรับหาค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ประการแรกได้ชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประการที่สองชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียน เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ E1/E2=85.47/87.18 ประการที่สามความสามารถในการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และประการที่สี่ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดฝึกกิจกรรมฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีความพึงพอใจระดับมาก | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ. | th_TH |
dc.subject | ทักษะทางการคิด | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรมการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 | th_TH |
dc.title.alternative | The construction and development of analytical thinking learning activity package in Thai subject group for prathomsuksa three students | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research were to construct and develop analytical thinking learning activity package in Thai subject group for prathomsuksa three students, to determine the efficiency of the analytical thinking learning activity package in Thai subject group for prathomsuksa three students according to E1/E2 , to study analytical thinking ability in thai subject group of prathomsuksa three students, to study the student’s satisfication toword learning activity package. The samples of this study, were 39 students from prathomsuksa 3/2 at Tessabanwatkhodtimtaram school,amphur maung, Rayong. The experiment duration was 15 hours. The research instruments were analytical thinking learning activity package, the analytical thinking learning in Thai language, and the students’s satisfication evaluation form toward the learning activity package. The data was analyzed by standard deviation, E1/E2 and SPSS Program for t-test. The results were as follow. The first result is an analytical thinking learning package in Thai subjects for prathomsuksa three students are created and developed. The second result is the efficacy value of an analytical thinking learning package was E1/E2=85.47/87.18. The third result is the analysis ability in Thai subject of the prathomsuksa three students’s post-test was higher than that the pre-test with statistical significance number of .05 and The fourth result is the student’s satisfication toward learning by using the analytical thinking learning package in Thai subject is high level. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education | |
dc.page | 70-79. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p70-79.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น