กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2102
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพ็ญนภา กุลนภาดล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:39Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2102 | |
dc.description.abstract | กลยุทธ์การพัฒนาครอบครัว ที่มีประสิทธิภาพและนิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การนำหลักการแนวคิด ทฤษฎีทางจิตวิทยามาใช้ในการช่วยเหลือครอบครัว การปรึกษาครอบครัวตามทฤษฎีโครงสร้าง ที่พัฒนาแนวคิดโดยซาลวาดอร์ มินูชิน มีหลักการและความเชื่อที่ว่า ครอบครัวทุกครอบครัวมีโครงสร้างของตนเอง แนวทางที่สมาชิกในครอบครัวปฏิบัติต่อกัน ถือเป็นโครงสร้างที่มีอิทธิพลต่อครอบครัว ทั้งในมุมมองทางบวกและลบ ครอบครัวที่มีระเบียบแบบแผนมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน จะสามารถปรับตัวกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ แนวคิดทฤษฎีนี้จะให้ความสนใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยผู้ให้หารปรึกษาจะใช้วีการหรือเทคนิคต่างๆ เช่น การสังเกต การตั้งคำถาม การทำแผนที่ครอบครัว การเอื้ออำนวยโดยให้สมาชิกครอบครัวมีส่วนร่วมในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น การมองภาพใหม่หรือมองสมาชิกครอบครัวในทางบวกในแง่มุมใหม่ และการสร้างขอบเขต ซึ่งเป็นแนวคิดที่เป็นรูปธรรมชัดเจน เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ในทุกระดับ และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาครอบครัวอย่างยั่งยืน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษา | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาครอบครัว | th_TH |
dc.subject | ครอบครัว | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | การปรึกษาครอบครัวตามแนวทฤษฎีโครงสร้าง : กลยุทธ์การพัฒนาครอบครัวอย่างยั่งยืน | th_TH |
dc.title.alternative | Structural family counseling : Sustainable family development strategies | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, the effectiveness of family development strategies that widely use is based on the implementation of psychological theories to assist family. Structural Family Counseling developed by Minuchin to under the belief that every family has own family structure. This theory focuses on the active organized wholeness of family unit and the ways in which the family organized itself. These influence to the family structure both positive and negative perspectives. Concrete regulations and family of which the members can adapt themselves to various situations properly and effectively. The Structural Family Counseling focuses on current problems, so that counselors use many techniques such as, observation, questioning, family mapping in order to facilitate the family members to cope with problems. For example, reframing them to see other family members in the positive ways and making the strengthen boundaries. These are the concrete concepts that can be implemented for all levels and can be promoted for the sustainable development of the family. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education | |
dc.page | 24-32. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p24-32.pdf | 3.79 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น