กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2093
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เมธี ธรรมวัฒนา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:38Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:38Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2093 | |
dc.description.abstract | การสร้างแรงจูงใจในการเรียนเป็นสิ่งสำคัญของการจัดการเรียนการสอน เพราะว่าแรงจูงใจเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งถ้าครูผู้สอนสร้างแรงจูงใจนี้ควบคู่กับทักษะวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพแล้ว ย่อมจะทำให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนได้ดั่งที่ครูคาดหวังไว้ โดยทฤษฏีแรงจูงใจมีแนวคิดที่หลากหลาย แต่ในความเป็นจริงของการเรียนการสอนจำเป็นต้องมีการประยุกต์ใช้อย่างผสมผสาน กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอก ในบทความนี้เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ การสร้างแรงจูงใจที่มาจากประสบการณ์ของอาจารย์นิเทศการสอนที่ให้คำแนะนำนิสิตปฏิบัติการสอนของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา นำไปสู่นวัตกรรมการสอน กิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเทคนิคการสร้างแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพของนิสิตเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การจูงใจในการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การฝึกสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษา | th_TH |
dc.subject | การสอน | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพในชั้นเรียน: กรณีศึกษานิสิตปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Motivation strategies to efficacy in classroom: Case study of students to practice the teaching in school, Faculty of Education Burapha University | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | Motivation was necessary for instruction because the motivated is a factor influence to the student achievement. So, many principles of motivation was explained to various but in the real instruction must be combine the motivation strategies with intrinsic motivation and extrinsic motivation. The purpose of this article was presented to case study related to motivations strategies from my experience to suggested with student’s Education faculty, Burapha University to practice the teaching at many school in Chonbruri province that, were created the good ideas to innovations, actions, activities and motivation techniques to developing instruction efficacy. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education | |
dc.page | 17-26. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น