กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2092
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorPinyadapat Petcharat
dc.contributor.otherFaculty of Education
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:38Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2092
dc.description.abstractหลายทศวรรษที่ผ่านมา หัวข้อเกี่ยวกับแบบทดสอบความพร้อมที่มุ่งเน้นการวัดและประเมินความสามารถเชิงวิชาการของเด็กปฐมวัยยังคงเป็นประเด็นที่นักการศึกษาปฐมวัยได้นำมาอภิปรายร่วมกันอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดในแวดลงสังคมไทย เนื่องจากอิทธิพลของการสอบตัดเลือดอย่างเป็นทางการส่งผลให้เด็กอายุ 5-6 ปี ต้องทดสอบเพื่อรับการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับประถมศึกษา ในมุมมองทางการศึกษาปฐมวัย การใช้คะแนนจากแบบทดสอบเพื่อจำแนกและตัดสินรับเด็กปฐมวัยเข้าศึกษาต่อในระดับประถมศึกษาเป็นการนำไปสู่ประเด็นปัญหา เนื่องจากเด็กจะได้รับโอกาสเพียงครั้งเดียวในการแสดงความรู้ความสามารถให้ปรากฏในขณะทดสอบเท่านั้น จึงไม่สอดคล้องกับความต้องการของเด็กเป็นรายบุคคล อีกทั้งไม่สามารถประเมินทักษะที่แท้จริงของเด็กที่มาจากภูมิหลังที่แตกต่างกัน ดังนั้นการประเมินที่เหมาะสมในการเข้าศึกษาต่อระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ควรสมดุลระหว่างการใช้แบบทดสอบของโรงเรียนและแนวทางการประเมินตามสภาพจริง รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลจากแฟ้มสะสมผลงานของเด็กนับว่ามีความจำเป็นเช่น นอกจากนี้ประเด็นสำคัญที่ต้องคำนึงในการรับเด็กเข้าศึกษาต่อระดับประถมศึกษาปีที่ 1 คือ ความรู้ ข้อจำกัด กระบวนการของการทดสอบในสภาพการณ์ที่เด็กค้นเคย และทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของการเรียนรู้ของเด็กth_TH
dc.language.isoength_TH
dc.subjectAuthentic assessmentth_TH
dc.subjectEducationth_TH
dc.subjectElementaryth_TH
dc.subjectReadiness for schoolth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleFirst grade admission: An appropriate assessmentth_TH
dc.title.alternativeการรับเข้าศึกษาต่อระดับประถมศีกษาปีที่ 1: การประเมินที่เหมาะสมen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume23
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeFor more than a decade, early childhood educators have been discussing the issue of school readiness tests. These tests provide a focus for children’s academic status in Thai society. Due to the influence of formal testing between 5 and 6 years of age have been required to take school readiness tests prior to primary school reception. In the early childhood field, using scores from tests to classify and evaluate children for entry to first grade is problematic as children are given only one opportunity to demonstrate what they know and can do. Additionally, it is not suited to the individual needs and differences of young children, and available measures may not accurately reflect the skills of children from diverse backgrounds. Consequently, an appropriate assessment for first grade suitability should be balanced between a school-made test and authentic assessment. It is necessary to analyze the information from the children’s cumulative files of sample work. Importantly, first grade admission requires knowledge of testing, the limitations of and the procedures for dealing with children, the establishment of familiar situations, an awareness of child learning and development theories.en
dc.journalวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page1-16.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
1-16.pdf125.47 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น