กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2079
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | Chakkri Chaipinit | |
dc.contributor.author | Vira Somboon | |
dc.contributor.other | Faculty of Political Science and Law | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:37Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:37Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2079 | |
dc.description.abstract | This article aims to show that the one-size-fit-all intellectual property protection reasserts an essential discussion of human security when the strong intellectual property protection under a neoliberal market ideology has had a diverse effect on a global health. A Case of Thailand has shown that its patent policy deprives health security. An establishment of the Department of Intellectual Property, Ministry of Commerce; the three volumes of the Patent Act; and Pharmaceutical Research and Manufacturers Association has dislocated the Thai society and patients from the cessation of R&D projects on medicines as well as the increasing prices of medicines. These dynamics concerns human security and a need to improve health security for individuals; safety and equality in the foreseeable future. บทความชิ้นนี้ได้ชี้ให้เห็นว่าการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาแบบครอบจักรวาลกนะตุ้นให้เห็นถึงความจำเป็นในการศึกษาถึงประเด็นความมั่นคงด้านมนุษย์ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่เข้มงวดภานใต้อุดิการณ์แบบตลาดเสรีนิยมใหม่ ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบสาธารณสุขของโลก กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้ชี้ให้เห็นว่า นโยบายสิทธิบัตรของไทยทำใฟ้ประชาชนของประเทศถูกจำกัดสิทธิ์ในเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ด้านสาธารณสุข การจัดตั้งกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ การออกกฎหมายและการแก้พระราชบัญญัติสิทธิบัตรทั้งสามฉบับ และบทบาทของสมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ์ ได้สร้างความไม่พอใจให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยและคนไข้จำนวนมากได้รับผลกระทบ องคาพยพเล่านี้ได้ส่งผลให้การวิจัยและการค้นคว้าทางด้านเภสัชภัณฑ์ของไทยหยุดชะงักลงอย่างชิ้นเชิง พร้อมกันนั้น ก็ได้ส่งผลให้ราคายาเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ประเด็นเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องของความมั่นคงของมนุษย์และจำเป็นต้องปรับปรุงระบบสาธารณสุขให้รองรับกับความปลอดภัยและความเท่าเทียมกันของมนุษย์ในอนาคตอันใกล้นี้ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | Intellectual property infringement | th_TH |
dc.subject | Intellectual property | th_TH |
dc.subject | Patents | th_TH |
dc.subject | สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ | th_TH |
dc.title | Human security in intellectual property rights: A case study of Thailand's patent policy | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 2 | |
dc.volume | 3 | |
dc.year | 2554 | |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย | |
dc.page | 47-95. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p47-95.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น