กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2071
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:37Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:37Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2071 | |
dc.description.abstract | ปัญหาทวินิยมโครงสร้าง - ตัวแสดงเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันในทางสังคมศาสตร์มาเป็นเวลานาน กล่าวคือ ในการอธิบายการเกิดปรากฏการณ์ทางสังคม เกิดปัญหาว่ามาจากมุมมองเชิงโครงสร้างหรือมุมมองเชิงตัวแสดงผู้กระทำการ มุมมองใดจะสามารถอธิบายได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ทางสังคมดำเนินไปโดยที่โครงสร้างและตัวแสดงต่างมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน ฉะนั้น การอธิบายด้วยมโนทัศน์ที่เชื่อมโยงโครงสร้างและตัวแสดงเข้าด้วยกัน จึงเปฌนความพยายามสร้างคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์และปฏิสัมพันธ์ที่ต่างมีต่อกันและกัน ปิแอรื บูร์ดิเออ นักแสดงวิทยาชาวฝรั่งเศสได้สร้างมโนทัศน์ฮาบิตุสเพื่อเชื่อโยงโครงสร้างและตัวแสดง โดยเสนอว่าฮาบิตุสเปฌนปฏิบัติการที่อยู่ภายใต้ปัจเจกบุคคล โดยฮาบิตุสจะแสดงให้เห็นถึงการทำให้เป็นภายในของปัจจักภายนอก และการทำให้เป็นภายนอกของปัจจัยภายใน กระบวนการเหล่านี้จะถูกแสดงออกผ่านการปฏบัติของตัวแสดง การที่ตัวแสดงแต่ละคนมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันก็เนื่องจากทุนที่ตัวแสดงครอบครองและตำแหน่งที่ตัวแสดงดำรงอยู่ในสนาม โครงสร้างจึงมีอิทธิพลต่อตัวแสดงในฐานะที่เป็นปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจแลพแสดงออกของตัวแสดง ขณะเดียวกันตำแหน่งและสนาม รวมถึงการครอบครองทุนของตัวแสดงก็จะเป็นเงื่อนไขที่ส่งผลต่อการที่ตัวแสดงจะตัดสินใจปฏิบัติการบางอย่างด้วยตัวเอง ฉะนั้น ฮาบิตุสจึงเป็นมโนทัศน์หนึ่งที่สามารถอธิบายการเชื่อมโยงระหว่างโครงสร้างและตัวแสดงได้เป็นอย่างดี | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ทวินิยม | th_TH |
dc.subject | นิสัย | th_TH |
dc.subject | ปรัชญา | th_TH |
dc.subject | สังคมวิทยา | th_TH |
dc.subject | สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ | th_TH |
dc.title | มโนทัศน์ฮาบิตุสกับการแก้ปัญหาทวินิยมโครงสร้างและตัวแสดง | th_TH |
dc.title.alternative | Concept of Habitus and solution to the stucture-agency dualism | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 3 | |
dc.volume | 4 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The problem of the structure and agency dualism has been debated in the social science for a long time. That is to say between structural and agency perspectives whic perspective can explain social phenomena best? However, social phenomena are caused by the interaction of structure and agency. So, the explanation with the concept that link structure and agency together is the attempt to create the explanation to understand the phenomena and interaction with each other. Pierre Bourdieu, French Sociologist, create the habitus concept to link structure and agency. He proposes that habitus operates within the individual ; habitus show the internalization of externality and the externalization of internality. These processes are showed through the practices of agent. The different behaviors of actors are due to the capital possession and their position in field. Thus, structures can influent to actors as external factor influencing the decision making and expression of their characters. At the same time, position, field and also capitals possession of actor are conditions which affect to the decision of actor to conduct their practice by yourself. So,habitus is a concept that can explain the lingkage between structure and actor as well. | en |
dc.journal | วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย | |
dc.page | 375-499. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
379-409.pdf | 2.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น