กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/202
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุดารัตน์ สวนจิตร | th |
dc.contributor.author | อภิรดี ปิลันธนภาคย์ | th |
dc.contributor.author | สุรีย์พร เอี่ยมศรี | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:57Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:57Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/202 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาวิธีการที่อาศัยพื้นฐานของปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเพื่อตรวจสอบแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio vuinificus จากหอยนางรม โดยในปฏิกิริยาสามารถตรวจสอบแบคทีเรียทั้งสองชนิดได้พร้อมกันยีนเป้าหมายที่นำมาใช้ในการตรวจสอบ Vibrio parahaemolyticus ได้แก่ tl (thermolabile hemolysin gene) และ tdh (thermostable direct hemolysin gene) ส่วนการตรวจสอบ Vibrio vuinificus ใช้ยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง hemolysin / cytolysin หรือ vvh เป็นยีนเป้าหมาย ไพร์เมอร์ที่ใช้ในการศึกฦษษมีความจำเพาะต่อแบคทีเรียทั้งสองชนิดดังกล่าวเท่านั้น สภาวะที่เหมาะสำหรับการดำเนินปฏิกิริยา PCR แบบมัลติเพล็กซ์ ใช้แมกนีเซียมคลอไรด์ความเข้มข้น 3.0มิลิโมลาร์ และอถณหภูมิสำหรับการลงเกาะของไพร์เมอร์บนดีเอ็นเอแม่แบบคือ 63 องศาเซลเซียส จาการศึกษาวิธีที่เหมาะสมสำหรับการเตรียมดีเอ็นเอแม่แบบจากเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในหอยนางวรม พบว่า การใช้ SDS –Proteinase K lysis solution ร่วมกับการตกตระกอนดีเอ็นเอด้วยไอโดพรพานอล ให้ผลการดำเนินปฏิกิริยาค่อนข้างดี ความไวงของเทมคนิคในการตรวจ V. parahaemolyticus และ V. Vuinificus โดยตรงจากตัวอย่างหอยนางรมคือ 100 CFU ต่อกรัม และเมื่อเพิ่มขั้นตอนการเพิ่มปริมาณเชื้อในหอยนางรมก่อนการทำ PCR พบว่าเทคนิคนี้มีความไวของการตรวจสอบสูงได้สูงขึ้น (1 CFU ต่อกรัม) เทคนิคที่พัฒนาขึ้นนี้ ได้ผ่านการทดสอบความใช้ได้จริงโดยเปรียบเทียบกับวิธีตรวจสอบมาตรฐาน ซึ่งมีค่าความแม่นยำ ความจำเพาะและความไวของการตรวจสอบ 96-100เปอร์เซนต์ จึงสามารถนำเทคนิคที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใช้ในการตรวจสอบ V. parahaemolyticus และ V. Vuinificus แทนวิธีดั้งเดิมได้ ซึ่งสามารถทำได้สะดวกและรวดเร็วกว่า ซึ่งมีประโยชน์ในการลดปัญหาการเจ็บป่วยหรือการตายที่มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียทั้งสองชนิด | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2550-2551 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | แบคทีเรีย | th_TH |
dc.subject | หอยนางรม - - การปนเปื้อน | th_TH |
dc.subject | แบคทีเรีย - - การทดสอบ | th_TH |
dc.subject | แบคทีเรีย - - การวิเคราะห์ | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การตรวจสอบ Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio vulnificus ในหอยนางรมและสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเลเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์. | th_TH |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | This study was aimed to develop PCR-based for detection of two Vibrio species, V. parahaemolyticus and V. vuinificus , in oyster. Multiplex reaction was optimized using several sets of primer and subsequently three primer were selected including those targeting genes encoded thermolabile hemolysin (tl) and thermostable directed hemolysin (tdh) of V. parahaemolyticus as well as the one encoded hemolysin / cytolysin (vvh) of V. vuinificus. No amplification of other Vibrio species or non- Vibrio bacteria was evident, suggesting a high specificity of detection by this method. According to the optimization of the simultaneous amplification reaction, the concentration of MgCl2 component and annealing temperature of the PCR cycle were proved to be satisfied at 3.0 mM and 63 °C, respectively. Protocol for bacterial DNA template preparation was a great of concern, especially, especially from oyster samples. After trial analyses, crude extraction method using SDS –Proteinase K lysis solution followed by isopropanol DNA precipitation was adopted. This protocol the success of amplification reaction and reproducibility as determined by yields of PCR products. The sensitivity of direct detection of both targeted orgatisms in spiked oyster samples was shown as 100 CFU/g . This sensitivity was improved to 1 CFU per grem of oyster tissue homogenate in 6 hour enriched culture. Validation analysis of the developed multiplex PCR revealed that this technique could be highly approved with the values of relative accuracy, specificity and sensitivity of greater than 95 (96 -100 %) and it is applicable. The rapid, sensitive, and specific detection of both clinically important bacteria in oyster would be beneficial in reducing illnesses and deaths caused by these pathogens | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น