กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2011
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริโฉม ทุ่งเก้า | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:10:05Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:10:05Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2011 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้นําแบคทีเรียกรดแลคติกจํานวน 20 ไอโซเลตที่แยกได้จากโรงงานผลิตเอทานอล ที่ใช่กากน้ำตาลเป็นวัตถุดิบซึ่งจัดจําแนกสปีชีส์ด้วยวิธีการวิเคราะห์ยีน 16S rRNA ได้เป้น Lactobacillus plantarum, Lactobacillus farraginis และ Lactobacillus rhamnosus และ Lactobacillus sp. มาทดสอบหาค่า Minimum Inhibitory Concentration (MIC) ต่อยาปฏิชีวนะ 2 ชนิด ได้แก้ Kamoran และ Erythromycin และต่อสารเคมี 1 ชนิด ได้แก่ Hydrogen peroxide (H2O2) โดยวิธี Macrobroth dilution พบว่าแบคทีเรียทั้ง 20 ไอโซเลตมีค่า MIC ต่อยา Kamoran >100 ppm มีค่า MIC ต่อยา Erythromycin ระหว่าง <0.1 ถึง >50 ppm และมีค่า MIC ต่อ H2O2 ระหว่าง <1 ถึง >400 ppm เมื่อทําการทดสอบการยับยั้งแบคทีเรียกรดแลคติกผสมโดยสาร ทดสอบแต่ละชนิดในสภาวะการหมักเอทานอลจําลองที่ใช้กากน้ําตาลเป็นวัตถุดิบพบว่าสารแต่ละชนิด มีผลยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียกรดแลคติกผสมได้ แต่เมื่อเติมยา Kamoran ที่ความเข้มข้น 5 ppm ในกากน้ําตาลที่มีเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติกผสมไม่ทําให้ยีสต์ผลิตเอทานอลได้เพิ่มขึ้น การทดสอบความสามารถในการสร้างไบโอฟอล์มบนแผ่นเหล็กกล้าปลอดสนิมชนิด 304 ของแบคทีเรีย กรดแลคติกแต่ละไอโซเลตในกากน้ําตาล หาปริมาณไบโอฟิมด้วยวิธี viable plate count พบว่า 11 ใน 20 ไอโซเลตสร้างไบโอฟิล์มได้เมื่อบ่มนาน 48 ชั่วโมง โดยความสามารถในการสร้างไบโอฟิล์ม แตกต่างกันตามสปีชีส์และสายพันธุ์ของแบคทีเรีย นอกจากนั้นยังพบว่าแบคทีเรียกรดแลคติกผสม สร้างไบโอฟิล์มร่วมกับยีสต์บนแผ่นเหล็กกล้าปลอดสนิมในสภาวะการหมักเอทานอลจําลองได้โดย ความหนาแน่นของไบโอฟิล์มเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการบ่มเมื่อตรวจสอบด้วยวิธี viable plate count และจากกล่องอิเลคตรอนแบบส่องกราด | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยบูรพา | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | กากน้ำตาล | th_TH |
dc.subject | การปนเปื้อน | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | เอทานอล | th_TH |
dc.subject | แบคทีเรียกรดแลคติกใส | th_TH |
dc.title | อุบัติการณ์และแนวทางเพื่อนําไปสู่การควบคุมการปนเปื้อน แบคทีเรียกรดแลคติกในอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นเชื้อเพลิง ของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Incidence and strategies for controlling lactic acid bacteria contamination in Thailand industrial fuel ethanol production | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2560 | |
dc.description.abstractalternative | In this research 20 isolates of lactic acid bacteria contaminated in the commercial plants producing ethanol from molasses, identified using 16S rRNA gene analysis as belonging to Lactobacillus plantarum, Lactobacillus farraginis, Lactobacillus rhamnosus and Lactobacillus sp., were tested for Minimum Inhibitory Concentration (MIC) against Kamoran, Erythromycin and hydrogen peroxide using a macrobroth dilution method. All 20 isolates showed >100 ppm MIC to Kamoran, <0.1 to >50 ppm MIC to Erythromycin and <1 to >400 ppm to hydrogen peroxide. The inhibitory activity of each substance towards mixed lactic acid bacteria under a simulated ethanol fermentation was also revealed. However, the addition of 5 ppm Kamoran in molasses containing mixed bacteria caused no advantage of ethanol production by yeasts. The ability to form biofilm of individual isolate of lactic acid bacteria on type 304 stainless steel in molasses was also conducted. Using a viable plate count method to quantify the amount of biofilm, it was found that 11 of 20 isolates formed biofilm with varying amounts depending on species and strain after incubation for 48 h. In addition, under simulated ethanol fermentation biofilm formation of mixed biofilm comprising lactic acid bacteria and yeasts was formed on this tested material. The density of this mixed biofilm increased by incubation time as revealed by both viable plate count and scanning electron microscopic methods | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_035.pdf | 2.39 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น