กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1992
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorถนอมศักดิ์ บุญภักดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:03Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1992
dc.description.abstractทำการเก็บตัวอย่างภาคสนามจำนวน 65 ครั้ง เพื่อศึกษาปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีในบริเวณชายฝั่งบางแสน-วอนนภาในระหว่างเดือนกรกฎาคม 2550 ถึง เดือนพฤศจิกายน2551 พบว่าเกิด red tide จำนวน 12 ครั้ง โดยแต่ละครั้งมีระยะเวลานาน 2-5 วัน และส่งผลกระทบต่อกิจการการท่องเที่ยวในบริเวณนี้เป็นอย่างมาก แพลงก์ตอนพืชที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีในบริเวณที่ทำการศึกษาได้แก่ไดโนแฟลกเจลเกต สกุล Ceratium furca และไดอะตอม สกุล Chaetoceros spp.โดยตรวจนับเซลล์ได้มากกว่า 30 และ 1000 เซลล์ต่อมิลลิตร ตามลำดับ และพบว่าจำนวนเซลล์ของไดโนแฟลกเจลเลตจะเพิ่มขึ้น หลังการ bloom ของไดอะตอม ปัจจัยที่ผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีคือ สารอาหารอนินทรีย์ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่ละลายน้ำ ตัวอย่างแพลงค์ตอนพืชขณะที่เกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีนั้นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ -20.5+1.6, -0.5+4.9 และ 5.3+1.15ตามลำดับ วึ่งเป็นค่าที่ใกล้เคียงกับที่มีในแพลงก์ตอนพืชที่มาจากทะเล บ่งชี้ให้เห็นว่าการท่องเที่ยวมิได้ส่งผลกระทบต่อปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีในบริเวณชายฝั่งบางแสน-วอนนภาth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2550-2551en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectน้ำทะเลเปลี่ยนสีth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleผลกระทบของการท่องเที่ยวที่มีต่อปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีบริเวณชายฝั่งบางแสน-วอนนภาth_TH
dc.typeResearch
dc.year2551
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น