กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1985
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1985
dc.description.abstractการศึกษาโครงการ ผลของการเปิดตลาดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าเสรีต่างๆของไทยเป็นการศึกษาทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง และการจัดสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นกับผู้ประกอบการทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ 350 คน พบว่าสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ ผลสำรวจพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่หรือร้อยละ 49.1 เป็นผู้ส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ รองลงมาคือ กลุ่มตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าและชิปปิ้งร้อยละ 38.2 และกลุ่มผู้นำเข้าร้อยละ 12.5 ประเภทของธุรกิจอุตสาหกรรมร้อยละ 15.0 เป็นเครื่องจักรกลและชิ้นส่วน รองลงมาได้แก่ สินค้าประเภทยางยนต์และชิ้นส่วน คิดเป็นร้อยละ 9.7 เหล็กและผลิตภัณฑ์ร้อยละ 9.3 สัดส่วนของ ผลกระทบที่ได้รับภายหลังจากที่ไทยได้ทำการตกลงการค้าเสรีกับประเทศคู่ค้าเจรจาต่างๆ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 โดยผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 36.2 ไม่แสดงความคิดเห็นในเรื่องดังกล่าว ขณะที่ร้อยละ 20.0 ดีรับผลกระทบด้านบวก และร้อยละ 16.9 ได้รับผลกระทบด้านบวกและลบพอกัน อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 11.7 ระบุว่าตนเองได้รับผลกระทบเชิงลบ ผลการศึกษาผลกระทบจากการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) พบว่าภายหลังการเปิดการค้าเสรีดังกล่าวนั้นมีส่วนช่วยในการให้การค้าระหว่างประเทศของไทยมีปริมาณการค้าที่เพิ่มสูงขึ้น โดยมีการส่งออกที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.2 ขณะที่มีผู้นำเข้าและส่งออกของไทยมีการใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้กรอบการค้าเสรีจานวนมาก ขณะที่สินค้าหลายประเภทที่แม้ไทยจะมีขีดความสามารถในการแข่งขันระดับหนึ่ง ประเด็นสาคัญที่ภาคอุตสาหกรรมการค้าของไทยกำลังเผชิญอยู่ 3 ประการหลัก คือ โครงสร้างภาษีศุลกากรของไทยในสินค้าต่างๆ ค่อนข้างจะสูงเมื่อเทียบกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ ที่กาลังเจรจาและจะเจรจา โดยอัตราเฉลี่ยของไทยเท่ากับร้อยละ 10 ในขณะที่อัตราเฉลี่ยภาษีศุลกากรของประเทศคู่เจรจาของไทยอยู่ในระดับค่อนข้างต่ากว่ามาก ประการที่สอง ประเทศคู่เจรจาที่มักจะการกาหนดมาตรการต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการนำเข้าสินค้าไทยในตลาดนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านมาตรฐานที่สูงกว่าสากลทั่วไป หรือมีกระบวนการที่ซับซ้อนยุ่งยากทำให้ต้นทุนการนำเข้าสูงเกินความจำเป็น และการลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่ประเทศคู่เจรจามีความชำนาญจะเรียกร้องความสะดวกและเปิดให้เข้าประเทศสะดวกและง่ายขึ้น โดยเฉพาะด้านการลงทุน The study is quantitative and qualitative research, it collects primary and secondary data. The research tools are questionnaire and focus group to brain storming from private and government sectors. The sampling sizes are 350 people. The results reveals that most of sampling or 49.1 percent are exporters, and freight forwarding companies and importers are equally 38.2 and 15.0 percent respectively. The sampling covers mechinery (15.0 percent), rubbers (9.7 percent), steel (15.0 percent). The most of sampling (36.2 percent) have no comment about any effect after conducting FTA between Thailand and partners. On the otherhand, some firms 20.0 percent) states that they receives positive effect, and some of them (11.7 percent) states that they receive negative effect. The result reveals that after opening FTA between Thailand and partners, international trade is increasing. It shows that export volume is increasing 20.2 percent. As Thai importers and exporters have privillage under FTA. Many Thai products have some level of competitiveness. Three important issues which Thai industrials confronting, for example, Thai customs structure and harmonised systems have rate higher level than other countries. Thai harmonised rate is 10 percent in average. Second, negotiating countries always assign non-tariff barriers and make problems to Thai products. Third, negotiating countries always request to Thailand to provide trade facilitation, in particular investmentth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการค้าเสรีth_TH
dc.subjectการเปิดตลาดสินค้าth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleโครงการศึกษาผลกระทบของการเปิดตลาดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าเสรีต่าง ๆ ของไทยth_TH
dc.title.alternativeThe study of the effect of market accesses and free trade agreements of Thailanden
dc.typeResearch
dc.author.emailtaweesak@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe study is quantitative and qualitative research, it collects primary and secondary data. The research tools are questionnaire and focus group to brain storming from private and government sectors. The sampling sizes are 350 people The results reveals that most of sampling or 49.1 percent are exporters, and freight forwarding companies and importers are equally 38.2 and 15.0 percent respectively. The sampling covers mechinery (15.0 percent), rubbers (9.7 percent), steel (15.0 percent). The most of sampling (36.2 percent) have no comment about any effect after conducting FTA between Thailand and partners. On the otherhand, some firms 20.0 percent) states that they receives positive effect, and some of them (11.7 percent) states that they receive negative effect. The result reveals that after opening FTA between Thailand and partners, international trade is increasing. It shows that export volume is increasing 20.2 percent. As Thai importers and exporters have privillage under FTA. Many Thai products have some level of competitiveness. Three important issues which Thai industrials confronting, for example, Thai customs structure and harmonised systems have rate higher level than other countries. Thai harmonised rate is 10 percent in average. Second, negotiating countries always assign non-tariff barriers and make problems to Thai products. Third, negotiating countries always request to Thailand to provide trade facilitation, in particular investment.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_101.pdf4.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น