กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1979
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศิริพร จำเนียรสวัสดิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1979
dc.description.abstractผลกระทบของภาวะชราแบบปกติต่อการสร้างความจำถูกศึกษาเป็นอย่างมาก ในแบบจำลองสัตว์ทดลองถึงแม้ว่าแบบจำลองสัตว์ทดลองจะให้ข้อมูลที่ดี แต่การทดลองแบบนี้ก็ยากที่จะตัดปัจจัยแทรกซ้อนอื่น ๆ ภายในร่างกาย อันได้แก่ อิทธิพลของฮอร์โมน อาหารที่ได้รับ ตลอดจนกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาในหลอดทดลองที่จะสร้างเป็นแบบจำลองภาวะชรา โดยเฉพาะในฮิปโปแคมปัสซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่เกี่ยวข้องกับความจำ ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาผลของความชราต่อการแสดงออกของ synaptic protein ในแบบจำลองภาวะชราในหลอดทดลอง การศึกษาแบบจำลองภาวะชราในหลอดทดลองครั้งนี้ในเซลล์ประสาทฮิปโปแคมปัสมาทำการเพาะเลี้ยงเป็นเวลานาน 21 วัน จากนั้นศึกษาการทำงานของเอนไซม์ beta-galactosidase เพื่อบ่งชี้ว่าเข้าสู่ภาวะชราด้วยชุดวัดสำเร็จรูป นอกจากนี้ยังศึกษาค่าการมีชีวิตของเซลล์ด้วยวิธี MTT assay อีกด้วย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบริเวณ synapse เป็นกลไกหลักที่ใช้ในการบ่งชี้ภาวะความจำ ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงทำการศึกษา การแสดงออกของ synaptein protein ที่สำคัญ ได้แก่ cofilin และ neuroligin ซึ่งเป็นโปรตีนเป้าหมายที่พบมากบริเวณ synapse ด้วยวิธี western blot โดยผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า มีการแสดงออกของ neuroligin ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสุิติในกลุ่มที่เพาะเลี้ยงเป็นเวลา 21 วัน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่เพาะเลี้ยง 16, 8, และ 2 วัน แสดงให้เห็นว่า ในภาวะชราเป็นสาเหตุของการแสดงออกที่ลดลงของ neuroligin ไม่เกี่ยวกับ cofilin สรุปได้ว่า การทำงานของ synapse ลงลงในภาวะชราเป็นแบบขึ้นกับ neuroligin การค้นพบครั้งนี้อาจจะนำไปสู่กลไกใหม่ของภาวะความจำเสื่อมในผู้สูงอายุth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectภาวะความจำเสื่อมth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.subjectเซล์ประสาทth_TH
dc.titleการเปลี่ยนแปลงกระบวนการแอกทินโพลิเมอไรเซชั่นในเซลล์ประสาทฮิปโปแคมปัสชราth_TH
dc.title.alternativeActin polymerization changes in aged hippocampal neurons.en
dc.typeResearch
dc.author.emailE-mail: siripornc@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThe impact of normal aging on memory function was highly studied by using an in vivo animal model. Although in vivo study may be highly informative, these may be difficult to exclude internal side effect of body including hormone, food intake, as well as daily routine. However, these is no study in an in vitro model of aging especially in hippocampus, neuron-associated memory function. Therefore, the present study aims to investigate the effect of aging on synaptic protein expression in vitro model of aging. This aging model used primary hippocampal neuron culture for 21 days. The, the activity of enzyme beta-galactosidase was determined by LISA kit. In addition, cell viability of hippocampal neuronal culture was determined by MTT assay. The structural change of synapse is the main mechanism of memory loss. Therefore the present study demonstrated the expression of synaptic proteins such as cofilin and neuroligin, target proteins of synaptic function by using Western bolt. The result showed that the expression of neuroligin significant decreased in 21 days of culture compare to the 8, 5, and 2 days of culture. It indicated that aging as a cause of the decrease in neuroligin expression, but not cofilin. It concluded that synaptic dysfunction in aging is neuroligin-dependent pathway. This finding may be provided a novel mechanism of memory loss in agingen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_077.pdf657.23 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น