กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1947
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กฤษณะ ชินสาร | th |
dc.contributor.author | สุวรรณา รัศมีขวัญ | th |
dc.contributor.author | เบญจภรณ์ จันทรกองกุล | th |
dc.contributor.author | ภูสิต กุลเกษม | th |
dc.contributor.author | อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์ | th |
dc.contributor.author | จรรยา อ้นปันส์ | th |
dc.contributor.author | Ratanak Khoeun | th |
dc.contributor.author | ธนินท์ อินทรมณี | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:59Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:59Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1947 | |
dc.description.abstract | โรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา (Diabetic Retinopathy: DR) เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้สูญเสียการมองเห็น ซึ่งเป็นการสูญเสียที่ร้ายแรงสำหรับผู้ป่วย และสิ่งที่สามารถตรวจพบได้ในระยะเริ่มต้นของโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตาคือ หลอดเลือดฝอยโป่งพอง (Microaneurysms: MAs) แต่ผู้ป่วยเองจะไม่สามารถสังเกตเห็นถึงความผิดปกติในการมองเห็นของตนเองได้ เมื่อหลอดเลือดฝอยโป่งพองแตกจะทำให้เกิดจุดเลือดออกเล็ก ๆ (Dot and Blot Hemorrhages: HMHs) ซึ่งเป็นอาการของโรคจะเข้าสู่ระยะรุนแรง ผู้ป่วยจึงจะรับทราบถึงสภาวะของการมองเห็นที่ไม่เป็นปกติได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการในการตรวจพบ DR สำหรับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาขั้นเริ่มต้น (Mild non-proliferative diabetic) ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยทาการค้นหาเส้นเลือดฝอยที่โป่งพองผิดปกติ (MAs) รวมถึงการมีจุดเลือดออกเล็ก ๆ (HMHs) ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการตรวจจับ Microaneurysm Candidate โดยแบ่งขั้นตอนการประมวลผลออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1) Preprocessing 2) Matched Filtering และ 3) Noise Reduction จากผลการทดลองเบื้องต้นซึ่งผู้วิจัยได้ทดสอบขั้นตอนวิธีที่นำเสนอกับข้อมูลภาพ fundus image จำนวน 89 ภาพ สามารถตรวจจับ Microaneurysm 90.72% เมื่อเทียบกับ Microaneurysm ที่มีอยู่ทั้งหมด ซึ่งขั้นตอนวิธีที่นำเสนอให้ผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.subject | เส้นเลือดฝอยโป่งพอง | th_TH |
dc.subject | โรคเบาหวาน | th_TH |
dc.title | การคัดเลือกด้วยวิธีการเรียนรู้รวมแบบปรับตัวได้ สำหรับการตรวจพบอาการเส้นเลือดฝอยโป่งพองและมีจุดเลือดออกในตาสำหรับผู้ป่วยเบาหวานในระยะเริ่มต้น | th_TH |
dc.title.alternative | Adaptive ensemble selector for microaneurysms and dot-blot hemorrhage detection in diabetic retinopathy patients | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Diabetic Retinopathy, DR is a principal cause of vision lost. An early stage of DR is called Microaneurysms, Mas. It is difficult for patients to identify or observe themselves because its size and brightness are similar to normal stage. During this stage, Dot and blot hemorrhages (HMHs) will be occurred. Patients will obtain the lost vision signal in this stage. In this research, early stage detection of diabetic retinopathy is proposed. The proposed method will identify all candidate position of Microaneurysms and Dot and blot hemorrhages. Our proposed method consists of 3 main steps including preprocessing, match filtering and noise reduction. Experimental results show that our method provide 90.72% of accuracy. We test our method with 89 standard fundus images | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_101.pdf | 5.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น