กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบญจวรรณ ชิวปรีชา | |
dc.contributor.author | ชัยมงคล คงภักดี | |
dc.contributor.author | เกศราภรณ์ จันทร์ประเสริฐ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:09:58Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1937 | |
dc.description.abstract | การสำรวจความหลากหลายของไผ่ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดปราจีนบุรี สำรวจและเก็บตัวอย่างไผ่ที่แพร่กระจายในพื้นที่ชุมชนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 พบไผ่ 21 ชนิด 6 สกุล ได้แก่ สกุล Bambusa, Dendrocalamus, Thyrsostachys, Vietnamosasa, Gigantochloa และ Schizostachyum จังหวัดสระแก้ว พบไผ่ 13 ชนิด สกุลไผ่ป่า (Bambusa) พบมากที่สุด 8 ชนิด จังหวัดปราจีนบุรี พบไผ่ 19 ชนิด สกุลไผ่ป่า (Bambusa) พบมากที่สุด 10 ชนิด ไผ่รวกและไผ่เลี้ยงเป็นไผ่ที่นิยมปลูกกันแพร่หลายทั้ง 2 จังหวัด เพื่อใช้บริโภคและใช้ประโยชน์จากลำไผ่ ไผ่ต่างชนิดกันมีลักษณะกายวิภาคต่างกัน กลุ่มท่อลำเลียงบริเวณผิวลามีขนาดเล็กและเรียงตัว กันหนาแน่น ในขณะที่กลุ่มท่อลำเลียงด้านในมีขนาดใหญ่กว่าและเรียงตัวกันหลวม ๆ ไผ่ที่มีสัดส่วนไฟเบอร์สูงมีแนวโน้มของสมบัติเชิงกล ที่สูงตามกัน ไผ่ปล้องห่าง ลำมะลอก และไผ่รวก จัดอยู่ในกลุ่มไผ่ที่มีความหนาแน่นสูง มีค่า 0.863, 0.853 และ 0.833 g/cm3 ตามลำดับ ไผ่บงมีความหนาแน่นต่ำที่สุด 0.54 g/cm3 ไผ่ซางนวลและไผ่รวก จัดอยู่ในกลุ่มไผ่ที่มีค่าสัมประสิทธิ์แตกหักสูง เท่ากับ 210.783 และ 204.25 MPa ตามลำดับ ไผ่ตงลืมแล้งและไผ่บง จัดอยู่ในกลุ่มไผ่ที่มีค่าสัมประสิทธิ์แตกหักต่ำ เท่ากับ 96.647 และ 97.953 MPa ตามลำดับ ไผ่ซางนวล มีค่าสัมประสิทธิ์ยืดหยุ่นสูงที่สุด เท่ากับ 16791.7 MPa ในขณะที่ไผ่บง มีค่าสัมประสิทธิ์ยืดหยุ่นต่ำที่สุด เท่ากับ 5000.7 MPa ไผ่หกมีแรงอัดขนานเสี้ยนสูงที่สุด เท่ากับ 71.51 MPa ในขณะที่ไผ่หม่าจู มีแรงอัดขนานเสี้ยนต่ำที่สุด เท่ากับ33.94 MPa ไผ่ที่มีศักยภาพในการใช้งานรับแรง ได้แก่ ไผ่ซางนวล และไผ่ปล้องห่าง | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2558 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | ไม้ไผ่ | th_TH |
dc.title | ความหลากหลาย จุลลักษณะ และคุณสมบัติบางประการของไม้ไผ่ในจังหวัดสระแก้วและจังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Diversity, microscopic features and some properties of bamboos in Sakaeo and Prachinburi province | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | benchawon@buu.ac.th | |
dc.author.email | kasaraporn@buu.ac.th | |
dc.year | 2559 | |
dc.description.abstractalternative | Diversity of bamboos studied on both cultivated and natural existing species in Sakaeo and Prachinburi province. Exploration and collection of botanical specimens was made from March 2014 to January 2015. Specimens were classified into 6 genera 21 species such as, Bambusa, Dendrocalamus, Thyrsostachys, Vietnamosasa, Gigantochloa and Schizostachyum. In Sakaeo province, bamboos were classified into 4 genera 13 species. While Prachinburi province, bamboos were classified into 19 species. Bambusa was the most diversity in Sakaeo and Prachinburi province, were 8 and 10 species respectively. Thyrsostachys siamensis and Bambusa multiplex were found the most distribution in two province for edible and the other purpose. Different wood anatomy characteristic were found in each of species. The vascular bundle in peripheral zone are small and dense. But, central zone vascular bundle are bigger and loose. Fibers ration in bamboos wood, were relate to high strength. Schizostachyum virgatum, Bambusa longispiculata and T. siamensis are in high density group were 0.863, 0.853 and 0.833 g/cm3 respectively. Bambusa nutans is the lowest density (0.54 g/cm3). Dendrocalamus membranaceus and T. siamensis are in high MOR group were 210.783 and 204.25 MPa. Bambusa beecheyana and Bambusa nutans are in lowest MOR group were 96.647 and 97.953 MPa. D. membranaceus is the most high MOE (16791.7 MPa). While, B. nutans is the lowest MOE (5000.7 MPa). Compression The most Compression strength parallel to grain were Dendrocalamus hamiltonii (71.51 MPa) but the lowest is Dendrocalamus latiflorus (33.94 MPa). As the result, 2 clum of D. membranaceus and Schizostachyum virgatum are suitable for hard constructio | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2560_059.pdf | 9.59 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น