กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1934
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสวามินี ธีระวุฒิ
dc.contributor.authorปฏิยุทธ์ ขวัญอ่อน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:58Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:58Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1934
dc.description.abstractระดับความเข้มข้นของสารละลายอัลจิเนตสาหรับเคลือบเนื้อกุ้งขาวต้มที่ผู้ทดสอบให้การยอมรับได้มากที่สุดคือ คือ 0.002% และระดับการยอมรับทางประสาทสัมผัสของเนื้อกุ้งขาวต้มเคลือบอัลจิเนต มีคุณลักษณะ 4 ด้าน คือ ลักษณะปรากฏ กลิ่น รสชาติและเนื้อสัมผัส โดยกำหนดให้ระดับการยอมรับกลิ่นที่ต่ำกว่า 3 เป็นระดับการยอมรับที่ใช้ตัดสินอายุการเก็บรักษาเนื้อกุ้งขาวต้มเคลือบอัลจิเนตผสมสารกันหืน รวมทั้งการนำเนื้อกุ้งขาวต้มมาเคลือบด้วยสารละลายอัลจิเนตผสมสารกันหืนชาเขียวและวิตามินซี (T11, T16, T21, T26) สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี กายภาพ จุลชีววิทยาและประสาทสัมผัสได้ โดยการนำเนื้อกุ้งขาวต้มมาเคลือบสารละลายอัลจิเนตผสมวิตามินซี 1.25% และชาเขียว 1.25% (T11) มีประสิทธิภาพในการชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางประสาทสัมผัส (ลักษณะปรากฏ กลิ่น เนื้อสัมผัส และรสชาติ) ดีที่สุด ส่วนเนื้อกุ้งขาวต้มเคลือบสารละลายอัลจิเนตผสมวิตามินซี 2.5% และชาเขียว 1.25% (T21) นั้นคุณภาพทางเคมี (pH, ความชื้น, TVB-N และ TMA-N) กายภาพ (% Cooking loss และค่าสี) และจุลินทรีย์ (จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด) ดีที่สุด เมื่อพิจารณาอายุการเก็บรักษาซึ่งคุณภาพทางประสาทสัมผัสนั้นเป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการผลิตอาหารเพื่อการบริโภคร่วมกับความปลอดภัยในการบริโภค (จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดไม่เกิน 6.0 log CFU/กรัม) ทำให้ผู้ทดสอบยังคงมีความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ดังนั้น T21 และ T11 มีอายุการเก็บรักษาได้นานที่สุดเท่ากันคือ 22 วัน รองลงมาได้แก่ T26 และ T16 ที่มีอายุการเก็บรักษา 20 และ 16 วัน ตามลำดับ ส่วน TAC เก็บได้นาน 10 วัน และ TCC สามารถเก็บรักษาได้ 8 วันth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกุ้งขาวth_TH
dc.subjectสารอัลจิเนตth_TH
dc.subjectสารกันหืนth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้สารเคลือบกันหืนจากอัลจิเนตเพื่อยืออายุการเก็บรักษากุ้งขาวต้ม: ผลของการเคลือบสารอัลจิเนตผสมสารกันหืนth_TH
dc.title.alternativeApplication of alginate-based antioxidant coating and modified atmosphere packaging to prolong shelf-life of cooked white shrimp: Effect of sodium alginate-based edible coating containing different antioxidantsen
dc.typeResearch
dc.author.emailsawamin@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeA trained descriptive analysis panels were evaluated sensory attributes for cooked white shrimp coated with an alginate-based coating. The optimum coating conditions for sensorial acceptance in the experiments were 0.002% sodium alginate. There was 4 attributes as appearance, odor, flavor and texture for sensory acceptance. While odor attributes could use to be shelf life of cooked white shrimp were coated with an alginate-based coating incorporating with antioxidant. The effect of antioxidant (green tea and vitamin C) alginate-based coating on the quality changes of cooked white shrimp during refrigerated storage of 28 days was investigated. Six different treatments were tested: control sample (TCC), alginate–based coating (TAC) and coated samples with alginate–based coating incorporating 1.25% vitamin C and 1.25% green tea (T11), 1.25% vitamin C and 0.625% green tea (T16), 2.5% vitamin C and 1.25% green tea (T21), 2.5% vitamin C and 0.625% green tea (T26), respectively. Alginate–based coating incorporating with antioxidant as green tea and vitamin C treatments (T11, T16, T21 and T26) could slow down the chemical, physical, microbiological and sensory quality changes of cooked white shrimp. Nevertheless, T11 was the highest inhibition on sensorial quality loss (appearance, odor, texture and tasty) and T21 was the most effective retarding chemical (pH, moisture content, TVB-N and TMA-N), physical (% cooking loss and color) and microbiology (total plate count) quality loss of cooked white shrimp. Considering the shelf life of products by the sensory quality and safety for human consumption (total plate count was not exceeded 6 log CFU/g). So that the use of T21 and T11 were the same shelf life for 22 days, T26 and T16 were shelf life for 20 and 16 days respectively. The TAC was shelf life by 10 days when stored at TCC have only 8 days. In addition, cooked white shrimp coated with antioxidant alginate-based coating at all sample secure for growth of pathogenic microorganisms (Coliform bacteria and E. coli) as wellen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_057.pdf3.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น