กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/191
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุณฑลี จริยาปยุกต์เลิศ | th |
dc.contributor.author | วิชชุดา ฐิติโชติรัตนา | th |
dc.contributor.author | สายใจ พัวพันธ์ | th |
dc.contributor.author | อุบล สาธิตะกร | th |
dc.contributor.author | อทิตยา พรชัยเกตุ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:45:56Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:45:56Z | |
dc.date.issued | 2540 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/191 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมโนภาพแห่งตนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนามโนภาพแห่งตน ศึกษาความคิดเห็นและการประเมินของอาจารย์ผู้ช่วยนักวิจัยที่มีต่อการใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนามโนภาพแห่งตน ใช้เวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนพนัสพิทยาคาร โรงเรียนแสนสุข และโรงเรียนหนองรีมงคลสุขสวัสดิ์ จำนวนทั้งสิ้น 348 คน ผลการวิเคราะห์ค่าที (t-test) พบว่า คะแนนมโนภาพแห่งตนของนักเรียนมัธยาศึกษาตอนต้นทั้ง 3 โรงเรียน หลังการร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนามโนภาพแห่งตนสูงกว่าคะแนนมโนภาพแห่งตนก่อนการร่วมกิจกจรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การประเมินผลการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนามโนภาพแห่งตน จำนวน 12 กิจกรรม ของอาจารย์ผู้ช่วยนักวิจัย พบว่า บรรลุวัตถุประสงค์ในระดับมาก-มากที่สุด ปัญหาสำคัญที่พบ ได้แก่ การร่วมกลุ่มมีการแบ่งแยกเพศ ส่วนข้อเสนอแนะ ได้แก่ การแบ่งกลุ่มให้คละนักเรียนในแต่ละกลุ่ม ให้มีนักเรียนหญิงมากกว่าหนึ่งคน และผู้ทำกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรมและยกตัวอย่างประกอบเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม อาจารย์ไม่ควรกล่าวตำหนิหรือวิพากษ์วิจารณ์นักเรียนในแง่ลบ นอกจากนี้อาจารย์ผู้ใช่วยนักวิจัยให้ความคิดเห็นต่อการร่วมโครงการวิจัยนั้ที่สำคัญได้แก่ การร่วมโครงการทำให้อาจารย์มีโลกทัศน์กว้างขึ้น ลดความเข้มงวดกับนักเรียนทำให้อาจารย์และนักเรียนยอมรับซึ่งกันและกัน ส่วนนักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเอง สามารถนำประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ | |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.subject | มโนภาพ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อพัฒนามโนภาพแห่งตนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | th_TH |
dc.title.alternative | Using group dynamics for developing self-concept of secondary school students | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2540 | |
dc.description.abstractalternative | The research is aimed to compare self concept in secondary School students before and after participating in self concept developing of group dynamic activities. Survey and evaluation have been carried out in order to find out teacher assistants’ opinion toward using of group dynamic activity package for developing Self concept. It took 12 weeks on experiment. The sample groups were Secondary School Students of Panatpittayakarn school, Saensuk School and Nongreemongkolsuksawat School, all together 348 students. The result of T-test analysis found that the scores of self concepts of all three school students after joining the group dynamic activities were statistical significant higher than those did not at 0.05 level. The evaluation of group dynamic activity package by teacher assistants were found that objective achievement is at a high-very high level. However, the major problem was group joining has been classifieds by sex. Suggestions and recommendation: focus should give on group setting. A combination of boys and girls in each group was more than one girl. Teacher were able to adjust their activities or add more instruments and give additional examples (if needed). Teacher should not attact or criticize students. In addition, teacher assistants share their opinion that participating on this research have opened up their world view and reduced their strictness which resulted to mutual acceptance. For the student, they learned to understand themselves and able to apply these experiences in their daily lives. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2567_247.pdf | 5.31 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น